Page 61 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 61

ดานโครงสรางพื้นฐานภาครัฐ ผลการสำรวจความพรอม  ดานงบประมาณ ภาครัฐไทยมีการจัดทำแผนและกำหนด
             ดานโครงสรางพื้นฐานของหนวยงานภาครัฐ ยังคงสะทอน  นโยบายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ

             ใหเห็นวาหนวยงานจำนวนมากมีโครงสรางพื้นฐานทางดาน  ประเทศ อยางไรก็ตาม การขาดความตอเนื่องของการบริหาร
             ฮารดแวรและซอฟทแวรไมเพียงพอตอการใชงาน ในขณะที่  จัดการ รวมไปถึงการจัดสรรงบประมาณอยางตอเนื่อง
             การจัดสรรงบประมาณดานดิจิทัลเฉลี่ยตอหนวยงานมี  เพื่อดำเนินการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานหรือจัดทำโครงการ

             แนวโนมลดลง ดังนั้น เพื่อใหการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลภาครัฐ  ตามแผนตางๆ ทำใหการดำเนินการหรือการพัฒนา
             เปนไปไดอยางตอเนื่องและบรรลุผล จึงจำเปนอยางยิ่งที่  โครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลไมตอเนื่อง
             ตองมีการสนับสนุนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัล  และอาจตองยุติลง ดังนั้น ภาครัฐจึงตองมีการวางแผน
             ที่หนวยงานตาง ๆ สามารถใชงานรวมกันได รวมทั้งสงเสริม  งบประมาณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอยางมีระบบ มีการจัด
             ขีดความสามารถดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยใน    ลำดับความสำคัญของผลประโยชนของโครงการตางๆ

             การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในภาครัฐ           ลดคาใชจายโดยเฉพาะการลงทุนในโครงการที่ซ้ำซอนกัน
                                                             เพื่อใหมีงบประมาณเพียงพอในการพัฒนาโครงการตางๆ
                                                             ใหสำเร็จลุลวงและตอเนื่อง



             ดานกฎหมาย การปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบใหเอื้อ  ดานอื่นๆ ประเทศไทยยังมีความทาทายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
             ตอการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัล เชน การเปดเผยขอมูลและ  กับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่ผานมา เชน ความเหลื่อมล้ำ
             การแบงปนขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐ นอกจากนี้   ทางดิจิทัล (Digital Divide) ของผูใชบริการทั้งในแง
             กฎหมายและกฎระเบียบหลายฉบับที่มีความเกี่ยวของกับ  ทรัพยากรและทักษะ ความไววางใจ (Trust) ที่มีตอการให 

             การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลยังเปนเพียงรางกฎหมายหรือราง  บริการดิจิทัล และผลกระทบจากสถานการณโควิด-19
             พระราชบัญญัติ ที่ยังไมสามารถนำมาบังคับใชไดจริง สงผลตอ  เปนตน ดังนั้น ภาครัฐจึงตองดำเนินการแกไขขอทาทาย
             การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในหลายเรื่องที่อาจเกิดขึ้นไดไม  ตางๆ อยางครอบคลุม เพื่อใหการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
             รวดเร็วเทาที่ควร ซึ่งปญหาดานกฎหมายที่หนวยงานภาครัฐ  เกิดประโยชนสูงสุดแกทุกภาคสวนอยางแทจริง

             เผชิญมีตั้งแตระดับกฎหมาย กฎ ระเบียบของหนวยงาน
             ไปจนถึงกฎหมายที่เกี่ยวของในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
             ดานตางๆ อาทิ กฎหมายธุรกิจดานการยื่นคำขอและเอกสาร
             ผานทางชองทางอิเล็กทรอนิกส กฎหมายดานการยืนยัน

             ตัวตนผานระบบอิเล็กทรอนิกส เปนตน ซึ่งสวนใหญเปน
             ปญหาการตีความกฎหมาย เชน พระราชบัญญัติคุมครอง
             ขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 ดังนั้น ภาครัฐไทยมีความจำเปน
             ตองเรงทบทวน ปรับปรุงกระบวนการ กฎระเบียบ รวมถึง

             การแกไขกฎหมายที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนารัฐบาล
             ดิจิทัล หรืออาจจำเปนตองบัญญัติกฎหมายใหมเพื่อชวย
             อำนวยความสะดวกในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ควบคูไปกับ
             การพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ภาครัฐใหสามารถตีความใช

             กฎหมายไดอยางถูกตอง เพื่อใหการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
             เปนไปไดอยางตอเนื่องและไมติดอุปสรรคดานกฎหมาย






                                                                                                    60
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66