Page 63 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 63

04        สาระสำคัญของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล


                       ของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570





              วัตถุประสงค
              1.  เพื่อพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะของรัฐที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ สามารถอำนวยความสะดวกในการใหบริการ

                 และเปนที่ยอมรับของประชาชน
              2.  เพ่อเปนแนวทางสนับสนุนใหหนวยงานภาครัฐนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใชในการยกระดับ
                   ื
                 การบริหารจัดการและการดำเนินงานภาครัฐใหมีความยืดหยุนคลองตัว มีการบูรณาการแบบไรรอยตอ เปดเผย
                 โปรงใสตรวจสอบได และสรางการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน
                    
              3.  เพื่อเปนกรอบทิศทางใหหนวยงานภาครัฐจัดทำแผนการดำเนินงานที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติการบริหารงาน

                 และการใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และสรางความตอเน่องในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ
                                                                             ื
                 ประเทศไทย



              หลักคิดนำทาง (Guiding Principles)
              ของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2570



                     หลักคิดนำทาง  (Guiding  Principles)  คือ  หลักคิดที่เปนขอตอระหวางเปาหมายหรือผลลัพธของแผนกับ
                                                    ั
                                                                                            ี
                                           ื
              การออกแบบมาตรการและกิจกรรม เพ่อกำกับใหม่นใจวาการดำเนินการตามแผนจะเกิดผลไดจริงตามท่คาดหวัง และใช 
              เปนกรอบการพิจารณากล่นกรองและจัดลำดับความสำคัญของมาตรการและกิจกรรมตางๆ รวมถึงใชกำกับการปรับปรุง
                                 ั
              มาตรการและกิจกรรมเมื่อบริบทที่เผชิญอยูเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และใชกำหนดกรอบตัวชี้วัดใหสะทอนผลลัพธ หรือ
              ความสำเร็จของแผนในแตละเรื่องดวย
                                            ี
                                              ี
                     จากการศึกษาหลักคิดนำทางท่เก่ยวของกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจากองคกรระหวางประเทศและกรณีศึกษา
              การผลักดันรัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ อาทิ Organisation for Economic Co-operation and Development
              (OECD) ,  United  Nations  Development  Programme  (UNDP)   และสหภาพยุโรป   ประกอบกับ
                    17
                                                                          18
                                                                                           19
              สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย สา มารถสังเคราะหหลักคิดนำทางเพ่อเปนแนวทางการพัฒนา
                                                                                    ื
              ยุทธศาสตร และมาตรการตางๆ  นอกจากนี้ หลักคิดนำทางยังชวยสนับสนุนการดำเนินงานใหเปนตามเจตนารมยของ
              พระราชบัญญัติการบริหารงานและการใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 สงผลใหทิศทางของการขับเคลื่อน
              ของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 ชัดเจนมากขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้





              17  OECD (2020). The OECD Digital Government Policy Framework: Six dimensions of a Digital Government. Available from: https://doi.org/
              10.1787/f64fed2a-en
              18  United Nations Development Programme, เปดประตูสูงานบริการดิจิทัลของรัฐบาลอังกฤษ และขอเสนอแนะดาน Digital Transformation ตอประเทศไทย,
              พฤศจิกายน 2554
              19  European Commission (2016). EU eGovernment Action Plan 20216-2020: Accelerating the digital transformation of government. Available
              from: https://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/?uri=CELEX%3A52016DC0179


                                                                                                    62
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68