Page 85 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 85

ี
                                                                                                ื
                      2.1)  ศึกษากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการตางๆ ท่เปนอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจในแตละกระบวนงาน เพ่อวิเคราะห
              แนวทางแกไข
                      2.2) ประสานความรวมมือระหวางหนวยงานเจาของกฎหมายและหนวยงานผูใหบริการเพ่อทบทวน ปรับปรุง นโยบาย
                                                                                    ื
                        ี
              และระเบียบ ท่เปนอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจ
                      2.3) ผลักดันใหเกิดการประกาศและมีผลบังคับใชอยางเปนรูปธรรม
                      2.4) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธ์ของการปรับปรุงกฎหมาย และนำมาพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการท ่ ี
                                                ิ
              เหมาะสมตอไป



                                                        ิ
                                           ู
                                                                          ื
                   ื
              3) มีเคร่องมือดิจิทัลหรือระบบงานใหแกผประกอบการเพ่อเพ่มโอกาสในการแขงขัน  เพ่อพัฒนาระบบนิเวศของวิสาหกิจขนาดกลาง
                                                     ื
              และขนาดยอม (SMEs) ใหมีผูประกอบการท่สามารถแขงขันไดในระยะยาว ภาครัฐควรพิจารณาจัดทำขอมูลขนาดใหญ (Big Data)
                                            ี
              ดาน SMEs โดยใหสำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) และภาคเอกชน เชน สภาหอการคาแหงประเทศไทย
                                                                ื
                                                                                                  ื
              หรือสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย เปนตน ผลักดันการเช่อมโยงขอมูลดาน SMEs ของหนวยงานภาครัฐ เพ่อใหเกิด
                                           ี
              ฐานขอมูล SMEs กลาง โดยจัดการขอมูลท่รวบรวมไดจากผูประกอบการ SMEs โดยตรง และขอมูลท่หนวยงานตางๆ พรอมท้งหนวย
                                                                                                   ั
                                                                                  ี
              งานพันธมิตรจัดทำระบบวิเคราะหขอมูล เพ่อใหสามารถออกมาตรการสงเสริมเฉพาะสำหรับ SMEs แตละกลุมท่มีความแตกตางกัน
                                            ื
                                                                                           ี
              ในเชิงประเภทอุตสาหกรรม ชวงอายุและขนาดของธุรกิจไดอยางแมนยำ
                                                                                       ี
                      3.1) สรางกลไกสงเสริมใหเกิดการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในภาครัฐ  และเปดเผยขอมูลท่จำเปนใหแกภาคธุรกิจ
               ื
              เพ่ออำนวยความสะดวกแกผูประกอบการในการเลือกใชประโยชน
                                        ื
                      3.2) สำรวจ รวบรวมรายช่อเทคโนโลยี นวัตกรรมพรอมใช และขอมูลเปดภาครัฐ และรายการผูประกอบการท่ใหบริการ
                                                                                                 ี
                             ื
                   ี
                       ื
              ดิจิทัลท่นาเช่อถือ เพ่อเปนแหลงขอมูลใหภาคธุรกิจ
                      3.3) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธ์ของการใชประโยชนจากเคร่องมือดิจิทัลและขอมูลสำหรับภาคธุรกิจ และนำมา
                                                                    ื
                                                ิ
                       ื
              ปรับปรุงเคร่องมือและขอมูลอยางตอเน่อง
                                           ื
                                  ี
                      โดยยุทธศาสตรท่ 3 มีดานท่เนนความสำคัญ (Focus Area) 4 ดาน ไดแก
                                          ี
              1.  การสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) มุงเนนใหภาคธุรกิจเขาถึงการทำธุรกรรมกับภาครัฐและเขาถึงขอมูล
                 การสงเสริมศักยภาพการแขงขัน ผานแพลตฟอรมไดอยางครบถวนท้งหวงโซมูลคา
                                                                ั
                                                                                               ื
              2.  การเกษตร มุงเนนใหเกษตรกรสามารถเขาถึงขอมูลทุกมิติผานแพลตฟอรมกลางขอมูลเกษตรกรรมของประเทศ เพ่อใชประกอบ
                 การตัดสินใจในการผลิตใหเหมาะสมกับศักยภาพพ้นท ี ่
                                                   ื
              3.  แรงงาน มุงเนนใหภาคแรงงานไดรับการพัฒนาทักษะ และยกระดับการคุมครองสวัสดิภาพ รวมถึงปรับสมดุลตลาดแรงงานไทย
                 สูความยั่งยืนดวยระบบบริการดานแรงงานแบบครบวงจร และระบบวิเคราะหขอมูลอัจฉริยะ
              4.  การทองเท่ยว  มุงเนนใหธุรกิจทองเที่ยวเขาถึงขอมูลทุกมิติผานระบบวิเคราะหขอมูลทองเท่ยวแบบครบวงจร และใชประโยชน
                         ี
                                                                                ี
                               ื
                                                    ี
                 จากบริการดิจิทัล เพ่อยกระดับอุตสาหกรรมทองเท่ยว
                      และมีโครงการสำคัญ จำนวน 7 โครงการ ดังแผนภาพโครงการสำคัญภายใตยุทธศาสตรท่ 3 (รายละเอียดโครงการ
                                                                                      ี
              สำคัญภายใตยุทธศาสตรท่ 3 ปรากฏในภาคผนวก 4)
                                ี









                                                                                                    84
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90