Page 81 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 81

ั
                                                     ี
                      2.1) พัฒนา/ปรับปรุงบริการรูปแบบดิจิทัลท่ใหบริการไดตลอดทั้งกระบวนการต้งแตตนจนจบ (End-to-End Process)
                                                                               ู
              ตามมาตรฐานกระบวนการทางดิจิทัล และวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส โดยมีการยืนยันตัวตนผใชกอนเขารับบริการ  และสามารถ
              ตรวจสอบติดตามสถานะการดำเนินงานตางๆ ไดอยางราบรื่น
                                       ี
                      2.2) เช่อมโยงแลกเปล่ยนขอมูลระหวางหนวยงานหรือผานแพลตฟอรมแลกเปลี่ยนขอมูลกลางแบบอัตโนมัต ิ
                            ื
              ตามมาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ
                      2.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการใหประชาชนทราบอยางทั่วถึง
                      2.4) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจตอคุณภาพบริการจากประชาชนผูรับบริการ และนำมาปรับปรุงการให
              บริการอยางตอเนื่อง



                                                                                                     ี
              3) สรางแพลตฟอรมการจัดบริการแบบบูรณาการและบริการดิจิทัลภาครัฐ  จัดใหมีแพลตฟอรมบริการดิจิทัลภาครัฐท่ตรง
              ความตองการของผูใช (User-Driven) และมีคุณภาพ แบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One-Stop Service) ในดานสำคัญ ทำใหประชาชน
              สามารถเขาถึงและรับบริการท่สอดคลองกับความตองการของประชาชนไดตลอดเวลา  โดยเปดใหหนวยงานและภาคสวน
                                    ี
               ี
                ี
              ท่เก่ยวของเขารวมพัฒนา จัดบริการท่มีความม่นคงปลอดภัย มีการรักษาความเปนสวนบุคคลและเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล
                                         ี
                                               ั
                                                                        ื
                      3.1) พัฒนาแพลตฟอรมการบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ โดยเช่อมโยงชุดขอมูลที่จำเปน ในการใหบริการ
              เพื่อบูรณาการการทำงานในแตละบริการ และนำบริการที่สามารถใหบริการไดแบบเบ็ดเสร็จขึ้นบนแพลตฟอรมในดานสำคัญนั้นๆ
              ทั้งนี้ ใหมีการนำบริการพื้นฐาน (Common Services) ซึ่งไดรับการกำกับดูแลมาตรฐานความปลอดภัยและความเปนสวนบุคคล
              ที่จำเปนมาใชดวย
                      3.2) เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลแบบอัตโนมัติผานศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางหรือระหวางหนวยงานทั้งภายในสังกัด

              และหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของ และจัดใหมีการพิสูจนยืนยันตัวตนของผูใชบริการ
                      3.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการใหประชาชนทราบอยางทั่วถึง
                      3.4) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผูใชบริการ และนำมาปรับปรุงประสิทธิภาพแพลตฟอรมใหดีข้นอยาง
                                                                                                   ึ
              ตอเนื่อง


              4) พัฒนาบริการที่เฉพาะเจาะจงรายบุคคล (Personalized  Service  Delivery) โดยไมตองรองขอ  ภาครัฐยกระดับการพัฒนา
              บริการที่ใหความสำคัญกับการสรางประสบการณใหกับผูใชบริการ (user experience) ซึ่งมุงเนนการพัฒนาบริการที่ตอบสนอง

                                                          ี
              ตอผูใชงานอยางแมนยำ สอดคลองกับสิทธิของประชาชนท่มีอยู โดยผูใชบริการไมตองรองขอหรือย่นเร่องตอหนวยงาน
                                                                                           ื
                                                                                         ื
              ท่เกี่ยวของเพ่มเติม
                        ิ
               ี
                      4.1) รวบรวมชุดขอมูลท่เก่ยวของกับการใหบริการประชาชนในแตละบริการ โดยเฉพาะขอมูลรายบุคคลท่ไดรับ
                                          ี
                                        ี
                                                                                                    ี
              การยินยอมในการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล เชน อายุ เพศ สถานะ สิทธิสวัสดิการ อาชีพ รายได เปนตน
                      4.2) จัดกลุมบริการประชาชนกับชุดขอมูลที่จำเปนกับสิทธิของประชาชน เพื่อกรองสิทธิสวัสดิการ และรายงานสิทธิ
              ตางๆ ที่ประชาชนรายนั้นๆ พึงไดรับ ในแตละชวงเวลา รวมถึงสิทธิสวัสดิการพิเศษของรัฐบาลที่อาจมีขึ้นในแตละป
                      4.3) จัดใหมีระบบแจงเตือนสิทธิในแตละชวงเวลา ผานชองทางการติดตอท่ประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยงาย
                                                                              ี
              โดยไมตองรองขอ เชน ไปรษณีย ขอความ SMS เปนตน
                      4.4) เผยแพร/ประชาสัมพันธบริการใหประชาชนทราบอยางทั่วถึง
                      4.5) ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผูใชบริการ และนำมาปรับปรุงบริการอยางตอเนื่อง












                                                                                                    80
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86