Page 186 - Microsoft Word - ปก.doc
P. 186

บทท่ี 7 สารประกอบคารบอนลิ 177

ตวั อยา ง ชื่อและโครงสรา งอลั ดไี ฮดและคีโตนท่ีมีในธรรมชาตเิ ชน

                            O                      CH3                    H3C
                               H                          CHO
                 O                                                                 CH3
                    H

cinnamaldeyde          HO                    H3C CH3                      O CH3
(cinnamon bark)                 OCH3
                                                 citral                     camphor
                           vanilline          (lemograss)                 (camphor tree)
                         (vanilla bean)

                                      H3C O                                    OH

                 CH3                     CH3                              H2C O
                            CH3                                           CH3
CH3                                                                  O
                                                                                   OH

                                                                     CH3

O                       O                          O

     testersterone        progesterone                 cortisone
  (male sex hormone)   (female sex hormone)        (adrenal hormone)

7.3 คณุ สมบตั ทิ างกายภาพของอัลดไี ฮดแ ละคโี ตน

      เนื่องจากอัลดีไฮดและคีโตนมีหมูฟงกชันท่ีประกอบดวยพันธะชนิดมีขั้ว ดังนั้นอัลดีไฮด
และคีโตนจึงเปนสารประกอบชนิดมีข้ัวซ่ึงทําใหมีจุดเดือดสูงกวาสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มี
นํ้าหนักไกลเคียงกัน อัลดีไฮดและคีโตนไมสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนระหวางโมเลกุลจึงมีจุด
เดือดตํ่ากวาสารประกอบท่ีสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนระหวางโมเลกุลไดเชนแอลกอฮอล
สารประกอบคารบอนิลมอี ะตอมของออกซิเจนซ่ึงสามารถใหอิเล็กตรอนกับอะตอมของไฮโดรเจนม
ได (hydrogen acceptor) ดังนนั้ จงึ สามารถสรา งพนั ธะไฮโดรเจนกบั ตัวทําละลายท่มี หี มไู ฮดรอก
ซิล เชน นํ้าและแอลกอฮอลได จะเห็นไดวาอัลดีไฮดและคีโตนสามารถละลายไดในนํ้าแตตองมี
จํานวนคารบ อนไมเกิน 5 อะตอม ตัวทําละลายอินทรียอื่น ๆ สามารถละลายอัลดีไฮดและคีโตน
ไดด ี นอกจากนี้อลั ดไี ฮดและคีโตนละลายไดในกรดซัลฟวริกเขมขนไดเชนเดียวกับสารประกอบอ่ืน
ๆ ทม่ี ีอะตอมของออกซิเจนเพราะเกดิ เปน ออกโซเนยี มไอออน (oxonium ion) ไดดังสมการ

                 O                           H     + HSO4-
                 C + H2SO4                      O
                                                C
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191