Page 142 - ebook.msu.ac.th
P. 142

142             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์



                             ๖๑๑
                                                        ๖๑๒
               เป็นดัง หย้าแพด  แลหย้าคา  อันบ่มี วิญญาน  นั้น  หากมาฝั่นกัน เป็น
               อันเดียวกันดังนั้น เอาผูกช้างสาน  ก็บ่ขาดแท้ดีหลีแล

                       “ฉะนั้น  เรามาพร้อมกันเลือกเอาผู้เป็นสัปบุรุษรู้คลองธรรมให้มาเป็น

               ใหญ่แต่สองคนเทิน  คิดดังนี้แล้วจึงไปเลือกเอาได้อยู่ทางเมืองพระยาโยธิกา
               ได้มาคนหนึ่ง  ให้เป็นพระยาอัครฝ่ายหน้าแทนพระยาศรีอมรณีให้กินเมืองเคิ่ง
               หนึ่ง และผู้หนึ่งอีกให้เป็นพระยาปุพพะกุรุนทนาราชแทนพระยาโยธิกา  ส่วน

               ช้างม้าแลนายควน เซิ่งได้กินน้ ายาสิทธิเพทนั้นก็ตายหมดแล้ว พระยาทั้งสองอัน
               ได้ครองเมืองแทนนั้นโลมกันว่า สมบัติข้าวของในเมืองร้อยเอ็ดประตูนี้ แม่นพระ
               ยาโยธิกา และพระยาศรีอมรณี ได้ไปก าหราบ นาบเต็งเอาน าพระยาร้อยเอ็ดหัว
               เมือง แล้วจึงน ามามอบให้แก่พระยาสุริยวงศาสิทธิเดชธรรมิกราช บัดนี้พระยาสุ

               ริยวงศา พระยาศรีอมรณีก็ตายเสียแล้ว พวกเราจึงเอารี้พลโยธาเสนาอามาตย์
               ช้างม้าแลคนหาญไปยาด (แย่งชิง)  เอา แล้วขนเอามา แล้วพระยาทั้งสองก็
               กระท าดังได้โลมกัน ได้ฆ่าฟันคนตายลงเป็นอันมาก คนก็เลยพากันแตกหนีจาก
               เมืองร้อยเอ็ดประตู คนที่เข้าสู่สงครามนั้นก็ให้คืนเมือบ้านเมืองดังเก่า”  ๖๑๓


                       ฝูงเข้ามาสมพพาน (สมภาร) นั้น  ก็คืนเมือสู่บ้านเก่าเมืองหลัง แห่งตน
               แล


                       หมื่นพีชชโลก ก็คืนเข้ามาเป็นเสนาแก่พระยาอะฆะฟ่าย (ฝ่าย) -
                   ๖๑๔
               หน้า
                       ออกขุนพลเทด (พลเทพ) ก็บ่หนี ยังอยู่กับที่เก่า


               ๖๑๑
                   หญ้าแพรก
               ๖๑๒
                   วิญญาณ-ผู้ปริวรรต
               ๖๑๓
                    ตัวบทในเอกสารใบลานฉบับนี้ขาดจึงแทรกเนื้อความที่กล่าวไว้ในฉบับของกรมส่งเสริม
               วัฒนธรรม (๒๕๕๓)  ใน หน้า ๙๑.
               ๖๑๔
                  ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  กล่าวว่า อัฑฒะฝ่ายหน้า,   ฉบับของกรมส่งเสริม-
               วัฒนธรรม (๒๕๕๓)  กล่าวว่า อัครฝ่ายหน้า
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147