Page 43 - ebook.msu.ac.th
P. 43
๓๔
จากภาพด้านบนเป็นภาพแผนที่ “บ้านแก” ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่คู่กับบ้านดู่ ชาวบ้านดู่ - บ้านแก มักเรียก
สองหมู่บ้านนี้ว่า “ค่ายบ้านดู่ คูบ้านแก” และเชื่อว่ามีมาตั้งแต่สมัย พระวอพระตา จากภาพแผนที่จะเห็นได้ว่า
บ้านแกทางด้านทิศตะวันออกติดล าน้ าห้วยพาลิง และห้วยน้ าคี ไหลบรรจบกัน ทั้งสองหมู่บ้านห่างกันประมาณ
๒ – ๓ กิโลเมตร ซึ่งอยู่ไม่ห่างกันมากนักสามารถเดินทางไปมาหาสู่กันได้ทันเวลาเมื่อมีข้าศึกศัตรูมารุกราน
จากภาพเป็นป้ายทางเข้าหมู่บ้าน บ้านแก ซึ่งเป็นป้ายที่เขียนด้วยอักษรลาวปัจจุบันข้อความว่า “บ้านพัฒนา
บ้านแก”
พระวอพระตาที่ถูกเล่าจากคนท้องถิ่น
จากค ากล่าวที่ว่า ตั้งแต่ปางพระวอพระตา คงเป็นตัวบ่งชี้หนึ่งที่บอกถึงความทรงจ าที่ชาวบ้านมีต่อเรื่องราว
พระวอพระตา หลังจากที่ได้รับรู้ถึงเหตุการณ์พระวอพระตาทั้งจากประวัติศาสตร์และจากวรรณกรรมใบลาน
แล้ว การรับรู้เรื่องราวเหตุการณ์พระวอพระตายังถูกแฝงฝังอยู่ในเรื่องเล่าประจ าถิ่นต่างๆที่จะเป็น
ภาพถนนทางขึ้นช่องเขาบริเวณเขาภูพานน้อย จังหวัดหนองบัวล าภู
ประโยชน์ให้ผู้ที่สนใจได้สืบค้น ดังเช่น เรื่องเล่าพระวอพระตาที่ถูกเล่าขานในพื้นที่จังหวัด
หนองบัวล าภู จังหวัดอุบลราชธานี ฯลฯ ซึ่ง มีการเล่าแบบรวบรัดตัดตอน ดังเช่น สุภาพ ศรีกุลวงศ์ อายุ ๗๙
ปี ชาวบ้านกลาง ต้าบลล้าภู อ้าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล้าภู ให้สัมภาษณ์ ๑๓ เมษายน ๒๕๕๘ กล่าวถึง
เรื่องราวพระวอพระตาว่า พระวอพระตาอพยพมาอยู่ที่เมืองหนองบัวล าภู ซึ่งเป็นเมืองของเจ้าปางค าแต่เดิม
“ปากช่อง” ที่ชาวบ้านในต าบลล าภู อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภูเรียกช่องแคบหุบเขา ชาวบ้านเชื่อว่า
เป็นช่องเขาที่พระวอพระตา หลบซ่อนเพื่อซุ่มโจมตีข้าศึกที่มาจากเวียงจันทน์ เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบ
ลุ่มภูเขา ใกล้กับ “ปากช่อง” ช่องเขาที่เชื่อว่าเป็นหนึ่งในสถานที่ที่ที่ท าการสู้รบช่วงสมัยเหตุการณ์พระวอพระ
ตา ซึ่งเป็นทางเชื่อมต่อจากปากช่องแคบหุบเขา ปัจจุบันกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว มีชื่อว่า “น้ าตกเฒ่าโต้”
พระวอ-พระตาในเอกสารใบลาน