Page 11 - ebook.msu.ac.th
P. 11
3
เอกวิทย์ ณ ถลำง (2544 : 47-48) ได้กล่ำวว่ำ ชำวอีสำนมีระบบกำรสืบสำนวัฒนธรรมและ
กระบวนกำรเรียนรู้จำกประสบกำรณ์และควำมรู้ที่สั่งสมจำกบรรพชนที่น่ำสนใจและมีคุณค่ำอย่ำงยิ่งคือ กำร
จำรึกเรื่องรำวต่ำง ๆ ลงในใบลำนที่รู้จักกันทั่งไปว่ำ “หนังสือก้อม” ในกำรจำรึกเรื่องรำวต่ำง ๆ ลงไว้บนใบลำน
ิ
ั
นิยมใช้อักษรธรรมส ำหรับเรื่องควำมศกดิ์สิทธิ์ บทสวด ในพธีกรรมและคำถำอำคมและใช้อักษรไทยน้อยใน
เรื่องเกี่ยวกับกฎหมำย โคลง กำพย์ ร่ำย ร้อยแก้ว ค ำสอนต่ำง ๆ ภำษำที่ใช้เป็นภำษำไทยอีสำน ผสมค ำบำลี
สันสกฤต กล่ำวโดยในสำรประโยชน์ หนังสือก้อมเป็นดุจดังคลังควำมรู้และภูมิปัญญำอันหลำกหลำยที่ชำวบ้ำน
ได้ช่วยกันสร้ำงไว้เพอเป็นคู่มอกำรด ำรงชีวิตตำมโครงสร้ำงและหน้ำที่ทำงสังคม หมู่บ้ำน เช่น ควำมเชื่อ จำรีต
ื่
ื
ประเพณี กำรรักษำโรค กำรปกครอง และเศรษฐกิจ หนังสือเหล่ำนี้ได้รับกำรเก็บรักษำ และน ำไปใช้สืบทอดมำ
แต่ปัจจุบันจึงเป็นหนังสือส ำคัญของคนอีสำน ที่มีส่วนในกำรบันทึก และปลูกฝังทัศนะของปรำชญ์ชำวบ้ำนไว้
เป็นอย่ำงดี
สมเด็จฯ กรมพระยำด ำรงรำชำนุภำพ (2543 : 113-115) พระองค์ท่ำนได้แยกประเภทหนังสือไทย
โดยกล่ำวว่ำ หนังสือไทยฉบับเขียน... ลักษณะต่ำงกัน 3 ประเภท ถ้ำเป็นหนังสืออ่ำนก็จะเป็นหนังสือสมุดไทยสี
ขำว สมุดไทยด ำและถ้ำเป็นหนังสือต ำรำ เช่นเลขยันต์หรือคำถำอำคม อันเจ้ำของประสงฆ์ซ่อนเร้นแก่ตัวมักจะ
จำรลงในใบลำนขนำดสั้นครึ่งคัมภีร์พระธรรมร้อยเชือกเก็บไว้ ซึ่งเป็นหนังสือใบลำนประเภทหนึ่ง
วีณำ วีสเพ็ญ (2550 : 5-6) ได้กล่ำวถึงคณค่ำด้ำนอกษรศำสตร์ กำรสื่อสำรและกำรแพทย์พื้นบ้ำน ไว้
ั
ุ
ว่ำ ต ำรำยำนี้เป็นบันทึกองค์ควำมรู้ด้ำนกำรแพทย์ของหมอยำพื้นบ้ำนด้วยตัวอักษรโบรำณ เป็นกำรปรับ
ควำมรู้ควำมเข้ำใจของผู้คนที่มองว่ำ องค์ควำมรู้สมัยก่อนมักเป็นจำรีตมุขปำฐะ (Oral Tradition) ที่เน้นกำร
ถ่ำยทอดด้วยกำรบอกเล่ำ ดังที่รับรู้กันอย่ำงเดียว แท้ที่จริงในชุมชนต่ำงๆได้มีกำรบันทึกไว้เพียงแต่อำจยังค้น
ไม่พบ สูญหำยหรือมีจ ำนวนน้อย ผู้วิจัยเห็นว่ำสิ่งที่บันทึกไว้ในต ำรำยำจังหวัดมหำสำรคำมดังกล่ำว อำจมี
บำงสิ่งซึ่งไม่ปรำกฏในกำรบอกเล่ำและไม่เหมือนกับที่มีกำรเผยแพร่ก็เป็นได้ ผลของกำรศึกษำจึงเป็นประโยชน์
ทั้งด้ำนอกษรศำสตร์ กำรสื่อสำรและกำรแพทย์พื้นบ้ำน ซึ่งอำจน ำมำปรับใช้ในวิถีชีวิตปัจจุบันได้ด้ำนใดด้ำน
ั
หนึ่ง เพรำะต ำรำยำที่เป็นตัวเขียนย่อมสะท้อนให้เห็นภำษำและ กำรสื่อสำรตำมแนวทำงของคนในขณะนั้น ที่
ส ำคัญจะทำให้เห็นโรค วิธีกำรรักษำโรค กำรใช้สมุนไพรในชุมชนสมัยก่อน ซึ่งอำจสังเกตเปรียบเทียบกับต ำรำ
โรค วิธีกำรใช้ยำสมุนไพรรักษำของหมอยำพื้นบ้ำน ที่จดจ ำจำกครูที่บอกเล่ำและสั่งสอนกันมำ ท ำให้เกิด
ควำมชัดเจนและเกิดองค์ควำมรู้เพิ่มขึ้น