Page 13 - ebook.msu.ac.th
P. 13
4
บทที่ 2
ประเภทของเอกสารโบราณ
ั
เอกสำรโบรำณ เป็นหลักฐำนเก่ำแก่ที่เป็นตัวอกษรหรือตัวหนังสือที่บันทึกเรื่องรำวต่ำงๆ ด้วยภำษำ
ต่ำงๆ ในอดีต เป็นเอกสำรบันทึกสรรพวิชำกำรแขนงต่ำงๆ ของบรรพบุรุษ เป็นหลักฐำนชั้นต้นที่ส ำคัญต่อวง
วิชำกำรเพรำะได้บันทึกเหตุกำรณ์และเรื่องรำวต่ำงๆ ทั้งคดีโลกและคดีธรรม เช่น ต ำรำยำ คำถำอำคม
ุ
หลักธรรมค ำสอนทำงพระพทธศำสนำ ประวัติศำสตร์ โหรำศำสตร์ วรรณกรรม พงศำวดำร กฎหมำยโบรำณ
เป็นต้น เรื่องรำวต่ำงๆ เหล่ำนี้สะท้อนให้เห็นถึงประวัติศำสตร์ทำงด้ำนภูมิปัญญำ วิถีชีวิต ควำมศรัทธำและ
ควำมเชื่อของคนในท้องถิ่นที่สืบทอดกันมำยำวนำนและกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัยได้เป็นอย่ำงดี
ซึ่งได้กลำยเป็นมรดกทำงวัฒนธรรมที่ตกทอดและพัฒนำมำจนถึงสังคมปัจจุบัน
ิ
์
พมพพรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ (2556 : 1-2) ได้จ ำแนกตำมลักษณะของวัสดุที่ใช้ในกำรบันทึกได้ 3
ประเภท ได้แก่ จำรึก คัมภีร์ใบลำน และ หนังสือสมุดไทย รำยละเอียดดังนี้
ั
2.1 จารึก คือ เอกสำรที่มีรูปรอยอกษรโบรำณแบบต่ำงๆ ปรำกฏเป็นร่องลึกลงไปในเนื้อวัสดุต่ำงๆ ที่
มีควำมเป็นธรรมชำติคงทนถำวรและแข็งแรง สำมำรถสืบทอดอยู่ได้นำน เช่น ศิลำจำรึก จำรึกบนผนังถ้ ำ จำรึก
แผ่นไม้ จำรึกฐำนพระพทธรูป จำรึกบนกรอบประตูปรำสำทหินต่ำงๆ ตลอดจนสำมำรถน ำวัสดุมีค่ำ เช่น ทอง
ุ
นำก หรือเงินมำตีแผ่ให้เป็นลักษณะรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำเหมือนใบลำนแล้วจำรึกลงไป เรียกว่ำ จำรึกลำนทอง
จำรึกลำนเงิน เป็นต้น
จารึกในจังหวัดมหาสารคาม
จำรึกในจังหวัดมหำสำรคำม
1. จำรึกวัดบ้ำนทับม้ำ อ ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหำสำรคำม อักษรไทยน้อย พ.ศ. 2411-2468