Page 109 - ปฏิบัติการ Lab Bilology II
P. 109
ี�
ี
บทปฏบัติการท 9 การแยกสกัดดเอ็นเอและพันธุวิศวกรรม
ิ
DNA Extraction and Genetic Engineering 101
การแยกสกัดดีเอ็นเอและพันธุวิศวกรรม
(DNA Extraction and Genetic Engineering)
บทปฏิบัติการที่ 11
การแยกสกัดดีเอ็นเอและพันธุวิศวกรรม
ผศ.ดร.จุฑาพร แสงประจักษ์
(DNA Extraction and Genetic Engineering)
ผศ.ดร.จุฑาพร แสงประจักษ
บทนํา
ี
ุ
สิงมชีวิตทกชนิดมการถายทอดลักษณะพันธุกรรมซ่งลักษณะการถายทอดทางพนธุกรรมในสิ่งมชีวิต
ั
ี
่
ี
ึ
่
ี
่
ี
่
่
ี
ี
ึ
่
่
ู
ุ
ถกควบคมโดยสิงทเรียกวา ยีน (gene) ซงเปนสิงทมความทาทายใหนักวิทยาศาสตรพยายามทจะศึกษาถึง
ั
ี
่
ี
ั
โครงสราง องคประกอบ หนาที่ รวมถึงกระบวนการตาง ๆ ที่เกี่ยวของกบยีน โดยเปนททราบกนดในปจจุบันวา
องคประกอบทางเคมของยีน คือ ดีเอ็นเอท่เปนสารประกอบพวกกรดนิวคลีอิก ดังนั้นในกระบวนการศึกษา
ี
ี
บทบาทตาง ๆ ของยีนจําเปนอยางยิ่งที่ตองทําการแยกกรดนิวคลีอิกออกมาจากเซลลของสิ่งมีชีวิตที่สนใจ
สารพันธุกรรม (genetic material) เปนสารประกอบพวกกรดนิวคลิอก (nucleic acid) ท ี่
ิ
ประกอบขึ้นจากโพลิเมอรของนิวคลีโอไทด (ภาพท 9.1) โดยแตละนิวคลีโอไทดประกอบดวย
ี่
่
ึ
1. เบสไนโตรเจน (nitrogenous base) ซ่งแบงไดตามลักษณะโครงสรางของโมเลกลทแตกตาง
ุ
ี
ั
กน 2 ชนิด คอ ไพริมดน (pyrimidine) ไดแก ไซโตซน (cytosine; C) ไทมีน (thymine; T) และยูราซล
ี
ี
ื
ิ
ิ
ั
(uracil; U) สวนเพียวรีน (purine) ไดแก อะดีนีน (adenine; A) และกวนีน (guanine; G) (ภาพที 9.2)
่
ํ
่
ี
2. น้ําตาลเพนโทส ซงแบงได 2 ชนิดตามน้าตาลเพนโทสทเปนองคประกอบในโมเลกล คอ
ุ
ื
ึ
่
น้ําตาลดีออกซีไรโบส (D-2-deoxyribose) และน้ําตาลไรโบส (D-ribose) (ภาพที 9.3)
่
3. หมูฟอสเฟต
ิ
ึ
กรดนิวคลิอกสามารถแบงออกเปน 2 ชนิด ตามองคประกอบโครงสรางนิวคลีโอไทด ซ่ง
ี
ตางกันท่เบสไนโตรเจน และน้ําตาลเพนโทส คือ ดเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid; DNA) มีเบสไนโตรเจนที ่
ี
็
ี
ประกอบดวย A, C, G, T และน้ําตาลเพนโทสเปนน้ําตาลดีออกซไรโบส (D-2-deoxyribose) และอารเอนเอ
่
(ribonucleic acid; RNA) มีเบสไนโตรเจนทประกอบดวย A, C, G, U และน้ําตาลเพนโทสเปนน้ําตาลไรโบส
ี
ี
ิ
็
ุ
(D-ribose) โดยดีเอนเอเปนสารพนธุกรรมของสิงมชีวิตทกชนิด หรือกลาวไดวาดีเอนเอเปนแบบพมพเขียว
ั
่
็
(blue print) ของสิ่งมีชีวิตนั่นเอง มีหนาที่กําหนดการสังเคราะหโปรตีนในสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ
ี
่
ี่
ภาพท 9.1 โครงสรางของนิวคลีโอไทด (ทมา: Russell, 1996)