Page 113 - ปฏิบัติการ Lab Bilology II
P. 113
ี�
ี
ิ
บทปฏบัติการท 9 การแยกสกัดดเอ็นเอและพันธุวิศวกรรม
DNA Extraction and Genetic Engineering 105
่
ี
ึ
่
่
ี
ี
ั
ปจจัยท่มผลกระทบตอคุณภาพของดีเอ็นเอ การแยกสกดดีเอ็นเอจากสิงมีชีวิตสิงทตองคํานึงถง
ี
ี
ี่
เรื่องของความบริสุทธิ์ของดีเอ็นเอที่เตรียมได โดยดเอนเอทมคณภาพดตองปราศจากการปนเปอนของโมเลกล
ุ
็
ี
ุ
่
ึ
์
ั
อื่นที่ไมตองการ เชน โปรตีน ไขมน และโพลีแซคคาไรด เปนตน ซงวิธีในการตรวจสอบความบริสุทธิของดีเอน
็
ั
่
ิ
เอสามารถพจารณาไดจากการเปรียบเทยบอตราสวนของการดดกลืนแสงของกรดนิวคลีอกกับโปรตนทความ
ี
ี
ิ
ี
ู
ี
ี
ิ
่
์
ี
ั
ี
ยาวคลื่น 260/280 นาโนเมตร โดยกรดนิวคลีอกทมความบริสุทธิอยูในเกณฑดตองมอตราสวนดังกลาวอยาง
่
็
ี
็
ี
ึ
่
ํ
ั
ี
ี
ึ
่
นอยเทากบ 1.8 และอกประการหนึงทตองคานึงถง คือ ขนาดของดเอนเอ ซงในการเตรียมดเอนเอจําเปนตอง
ี
ทําดวยความนิมนวล เบามือ เพ่อปองกันการฉีกขาดของโมเลกุลดีเอนเอโดยเฉพาะดเอนเอท่มลักษณะเปน
ื
็
ี
็
ี
่
เกลียวคูสายยาว
ขั้นตอนของการแยกสกัดดีเอ็นเอ ในการสกัดดีเอ็นเอมักประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ คือ
่
1. การทาใหเซลลแตก สามารถทาไดโดยวิธีกล เชน ดวยการบดเนื้อเยือรวมกับไนโตรเจนเหลว
ํ
ํ
ี
ั
ี
ํ
ใหเปนผงละเอยด หรือการทาใหเซลลแตกดวยสารเคมหรือเอนไซม ตวอยางเชน ยอยผนังเซลลดวยเอนไซม
เชน lysozyme, cellulose, chitinase
ิ้
2. ขั้นตอนของการกําจัดเศษเซลลและการกําจัดโปรตีนที่ไมตองการทง สามารถทําไดโดยการทํา
ใหโปรตีนเสียสภาพธรรมชาตโดยการเตมสารทเปน ionic detergent เชน sodium dodecyl sulfate (SDS)
ี่
ิ
ิ
ื
่
ํ
ิ
เพอเปนการลดแรงดงดูดระหวางโปรตีนและกรดนิวคลีอิก หรือการกาจัดโปรตีนโดยการเตมสารทเปนดางจัด
ึ
่
ี
ไดแก สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด
่
ํ
ิ
3. การแยกสกดโปรตนออกจากกรดนิวคลีอกดวยตัวทาละลายอนทรีย โดยสารทนิยมใช ไดแก
ี
ิ
ั
ี
ฟนอล และคลอโรฟอรม ซงสารทงสองชนิดจะทาใหโปรตนเสียสภาพธรรมชาต และแยกโปรตนออกไปคนละ
ี
้
ิ
ั
ี
่
ึ
ํ
ี
่
ี
สวนของสารละลาย โดยกรดนิวคลีอิกจะละลายอยูในชั้นของน้ําสวนบน ขณะทโปรตนและสิงปนเปอนอ่นๆ จะ
่
ื
อยูระหวางชั้นของน้ํา และฟนอล/คลอโรฟอรม
ี
4. การตกตะกอนกรดนิวคลีอกดวยแอลกอฮอล โดยปกตกรดนิวคลีอกสามารถละลายไดดใน
ิ
ิ
ิ
ั
ี
ั
้
ื
ี
บพเฟอรท่มี pH เปนกลาง แตจะไมละลายในสารละลายท่เปนกรดหรือแอลกอฮอล ดงนันเม่อมการเตม
ิ
ี
ิ
แอลกอฮอลลงในสารละลายกรดนิวคลีอิกจึงทําใหกรดนิวคลีอิกเกดการรวมตัวเปนกลุมกอนขนาดใหญจน
สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา
็
5. การเก็บรักษากรดนิวคลีอกหรือดเอ็นเอท่แยกสกัดได ควรเกบอยูในน้ําบริสุทธิ์หรือบัพเฟอร
ี
ี
ิ
เชน บัพเฟอร TE ที่สะอาดปราศจากสิ่งปนเปอนที่อุณหภูมิ -20 หรือ -80 องศาเซลเซียส
ิ
การสกัดพลาสมดดีเอนเอจากเซลลแบคทเรียดวยวธี Alkaline Lysis การสกดพลาสมดดเอ็นเอ
ิ
็
ั
ี
ิ
ี
จากเซลลแบคทเรีย โดยวิธีการทาใหเซลลแบคทเรียแตกสลายดวยสารละลายท่มสวนประกอบของ sodium
ํ
ี
ี
ี
ี
hydroxide (NaOH) และ sodium dodecylsulfate (SDS) โดยท SDS จะทําใหเกดการเสียสภาพตาม
ี
ิ
่
ํ
ธรรมชาตของโปรตนในเซลลแบคทเรีย สวน NaOH จะทาใหเกิดการเสียสภาพตามธรรมชาตของโครโมโซม
ี
ิ
ิ
ี
ื
ื
่
่
และพลาสมดดเอนเอ ซงเมอทาการเตมสารละลาย potassium acetate ท่มีสภาพเปนกรด เพ่อปรับสภาพ
ี
ี
็
ึ
ิ
ํ
ิ
ี
ื
่
่
ี
ี
ํ
สวนผสมจากสภาวะทเปนดางใหกลับคนสภาพเปนกลาง (neutralisation) พลาสมดดเอนเอทถกทาใหเสีย
ู
็
ิ
้
ี
่
ี
สภาพไปกอนหนานี จะกลับคนสูสภาพเดิมอยางรวดเร็ว ในขณะทโปรตนและโครโมโซมทเสียสภาพธรรมชาต ิ
ื
ี
่
ู
ไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได และจะถกจับไวดวยโครงสรางท่มความซับซอน ทเกดจากการรวมตัวกน
ั
่
ิ
ี
ี
ี
่
ี
ระหวาง SDS และ potassium ตกตะกอนออกมาใหเห็นเปนกอนสีขาว และภายหลังทไดทาการแยกตะกอน
ํ
ขาวออกไปโดยการปนเหวียงหรือการกรองพลาสมดจะถกแยกออกมาจากสวนผสม โดยการตกตะกอนดวย
่
ู
ิ
แอลกอฮอลบริสุทธิ์ (ethanol precipitation) (จุฑาพร แสงประจักษ, 2554)