Page 42 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 42
นอกจากนี้ จากการสำรวจระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป
7
2561 - 2564 ซึ่งทำการสำรวจหนวยงานระดับกรมทั้งหมด 315 หนวยงาน ผลการสำรวจระบุไดวา ในภาพรวม
หนวยงานภาครัฐมีแนวโนมปรับตัวดานดิจิทัลมากขึ้น และมีความแตกตางของคะแนนระหวางหนวยงานที่นอยลง
โดยผลการสำรวจจำแนกตามตัวชี้วัด 6 เสาหลัก และเรียงลำดับตามความพรอมรัฐบาลดิจิทัลจากอันดับสูงสุด
ไปต่ำสุดมีประเด็นที่นาสนใจสรุปได ดังนี้
ตัวชี้วัดอันดับที่ 1 ดานบริการภาครัฐ (Public Services) หนวยงานระดับกรมโดยรวมทำคะแนน
้
อยูในระดับ High และ Very high สูงที่สุด และมีความโดดเดนในตัวชีวดดานนีมากที่สุด จากผลการสำรวจพบวา
ั
้
จำนวนบริการที่อยูในรูปแบบดิจิทัลมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น จาก 1,503 บริการ ในป 2562 เปน 1,999 บริการ ในป
2564 แตสัดสวนการยกระดับบริการเปนดิจิทัลมีอัตราคงที่อยูที่ราวรอยละ 60 โดยในป 2564 มีสัดสวนบริการที่
อยูในรูปแบบดิจิทัล คิดเปนรอยละ 56.6
แผนภาพจำนวนบริการและบริการดิจิทัลของหนวยงาน
59.2% 59.6%
56.6%
1,999
1,503
1,101
ป 2562 2563 2564
บริการที่อยูในรูปแบบดิจิทัล (บริการ)
สัดสวนบริการที่อยูในรูปแบบดิจิทัล (%)
7
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน). รายงานบทวิเคราะหระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยป 2561 - 2564
โดยเปนการเปรียบเทียบขอมูลเฉพาะหนวยงานที่มีการตอบแบบสำรวจระดับความพรอมรัฐบาลดิจิทัลทุกป จึงทำใหสามารถนำผลการสำรวจมาเปรียบเทียบกันได
41