Page 38 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 38
5 การระบุตัวตนทางดิจิทัล (Citizen Digital Identity)
การระบุอัตลักษณบุคคลผานชองทางดิจิทัลมีความสำคัญอยางยิ่งในการเขาถึงและไดรับบริการตางๆ ในปจจุบัน
ภาครัฐจึงตองเรงสรางความไววางใจ และเชื่อมโยงขอมูลประจำตัวดิจิทัลของประชาชนมาใชเพื่อจัดการกับ
กรณีสำคัญเรงดวนตางๆ มากขึ้น
6 การผสานรวมองคกรภาครัฐ (Composable Government Enterprise)
การใชหลักการออกแบบผสมผสาน ซึ่งชวยใหเพิ่มความสามารถดานการทำงานและปรับตัวใหเขากับความตองการ
ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสังคมดิจิทัลที่กำลังเกิดขึ้น
7 การแบงปนขอมูลทางโปรแกรม (Data Sharing as a Program)
ภาครัฐมีการแบงปนขอมูลในรูปแบบเฉพาะกิจ หากแตในทางกลับกัน การสรางโปรแกรมแบงปนขอมูลเปนแนวทาง
ที่มีความเปนระบบ และชวยใหสามารถปรับขนาดและนำกลับมาใชใหมไดตามความเหมาะสม
8 การบริการสาธารณะแบบไฮเปอรคอนเนค (Hyperconnected Public Service)
การนำเทคโนโลยี เครื่องมือ และแพลตฟอรมที่หลากหลาย อาทิ ปญญาประดิษฐ (AI) การเรียนรูของเครื่องจักร
(Machine Learning) และ Robotic Process Automation (RPA) มาใชพัฒนากระบวนการและบริการ
สาธารณะใหอยูในรูปแบบอัตโนมัติมากที่สุด โดยลดการใชแรงงานคนใหนอยที่สุด เพื่อเพิ่มความยืดหยุน และ
ลดตนทุนในการดำเนินการ
9 การวิเคราะหเชิงปฏิบัติการ (Operationalized Analytics)
การนําเทคโนโลยีที่ขับเคลื่อนดวยขอมูลมาใชอยางมีกลยุทธและเปนระบบ เชน ปญญาประดิษฐ (AI) การเรียนรู
ของเครื่องจักร (Machine Learning) และการวิเคราะหขั้นสูง (Advanced Analytics) เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และชวยการตัดสินใจใหดีขึ้น
10 การมีสวนรวมของประชาชนหลายชองทาง (Multichannel Citizen Engagement)
การนำเทคโนโลยีมาใชอำนวยความสะดวกในการเขาถึงประชาชน โดยสรางชองทางที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ
เพื่อสงเสริมปฏิสัมพันธสองทางระหวางภาครัฐและประชาชน และชวยใหสื่อสารกับกลุมเปาหมายไดอยางตรงจุด
37