Page 17 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 17

17



               2.5 ประเด็นทางสังคม



                                                                                  ่
                       ประเด็นทางสังคม และประเด็นย่อยทางสังคม ทีแนะนาให้ศึกษาในคูมือเล่มนี ได้มาจากการทบทวน
                                                                ่

                                                                                         ้
                                                   ่
                                                     ่
                                                                                      ่
               มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติ  ทีเกียวข้องกับผลิตภัณฑ์เกษตรตางๆ  รวมถึงแนวทาง
               ส าหรับการประเมินวัฏจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์และองค์กร  (UNEP, 2021, 2020) การ

               ประเมินความยั่งยืนของอาหารและระบบการเกษตร (Sustainability Assessment of Food and Agriculture

                                    ้
               systems: SAFA) ตัวชีวัดประสิทธิภาพการปลูกข้าวอย่างยั่งยืน (Sustainable Rice Platform, 2015)

               ม า ต ร ฐ า น แ ร ง ง า น ไ ท ย   ( Department  of  Labour  Protection  and  Welfare,  2 0 1 0 )   แ ล ะ


                   ้
               ตัวชีวัดความมั่นคงทางอาหารระดับชุมชน (Yaimuang, 2012)


                         ็
                                             ้
                                                                                                        ่
                            ่
                              ่
                                                                            ่
                                                                         ่
                       เปนทีนาสังเกตว่า ตัวชีวัดจากมาตรฐานหรือเกณฑ์ทีเกียวข้องกับผลิตภัณฑ์เกษตรตาง ๆ
                                                                             ่
               ทีก าหนดขึนนั้น ไม่สามารถใช้ได้กับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ทีศึกษาในบริบทของไทยทุกตัวชีวัด
                                                                                                          ้
                 ่
                          ้
               เนืองจากบางตัวชีวัดไม่เกียวข้องกับผลิตภัณฑ์ทีศึกษา อีกทั้งตัวชีวัดจากมาตรฐานตาง ๆ
                                           ่
                                                                                                       ่
                                                                                    ้
                                                                  ่
                  ่
                                  ้
                                                                                                          ้
               มีหนวยแตกตางกัน เพือให้การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ท าได้สะดวก ผู้เขียนได้พัฒนาตัวชีวัด
                    ่
                                      ่
                             ่
               และประเด็นย่อยทางสังคมขึนใหม่ โดยใช้ค านิยามของประเด็นทางสังคมจากมาตรฐาน หรือ
                                            ้
               เกณฑ์ที่เกียวข้อง สิทธิ/บทบาทที่คาดหวัง และผลประโยชนที่คาดว่าจะได้รับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่ม
                                                                     ์
                         ่
                 ่
                                                                           ์
                           ็
                                 ี
                                  ึ
               ตาง ๆ  ประเดนเหล่านศกษาจาก การทบทวนวรรณกรรม และการสัมภาษณผู้เชียวชาญด้านการส่งเสริมการเกษตร
                                 ้
                                                                               ่
                                                                                              ่
               และตัวแทนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในกลุ่มตาง ๆ ได้แก เจ้าของไร่ แรงงาน เจ้าของเครืองจักร ร้านขาย
                                                       ่
                                                                  ่
               เคมีภัณฑ์เกษตร ผู้รวบรวมสินค้าเกษตร/โรงสี/โรงงาน และชุมชนท้องถิ่น
                                                                                            ่
                       ตัวชี้วัดทางสังคมที่แนะนาในคูมือเล่มนี เปนการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกียวกับสภาพสังคม

                                                  ่
                                                          ้
                                                             ็
                                                                        ่
                                  ่
                   ั
               ในปจจุบันส าหรับแตละประเด็นย่อยทางสังคม ตามแนวคิดทีใช้ในการศึกษาของ Manik et al. (2013)
               โดยแบ่งระดับการรับรู้ได้ดังนี ระดับต า (ต ากว่ามาตรฐาน หากมีมาตรฐานส าหรับตัวชีวัดนั้น ๆ) ปานกลาง
                                                    ่
                                                ่
                                         ้
                                                                                           ้
                                                                                                           17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22