Page 16 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 16
16
ประสิทธิภาพทางสังคม (Social performance)
่
หมายถึงหลักการ แนวทางปฏิบัติ และผลของความสัมพันธ์ ของผลิตภัณฑ์หรือองค์กรทีศึกษา
่
ี
ั
่
ึ
ุ
้
่
่
ี
้
ี
่
้
ี
่
์
ู
่
์
ั
ี
ุ
กบบคคล สถาบน องคกร สงคม และชมชน ซงรวมถึง การกระทาทองคกรทศึกษา กระทาตอผมสวนไดสวนเสยเหลาน
ั
้
ั
ี
่
ั
ี
และผลท่ตามมา จากการกระทาท่ไมได้ต้งใจ ซ่งวดโดยใช้แนวทางมาตราสวนอางอง โดยเทยบขอมูลบญชรายการทางสงคม
ิ
ี
้
ี
ึ
่
ั
ั
ั
่
ั
ิ
ั
่
ี
กบมาตรฐานทางสงคม สาหรบแตละประเดนทางสังคม (อธบายรายละเอยดในบทท 3) โดยท่วไป
ี
ั
็
ั
้
ิ
ิ
ประสทธภาพทางสงคมจะวดในระดบของตวชวดทางสงคม (UNEP, 2020) ประสทธภาพทางสงคม
ั
ี
ั
ิ
ั
ั
ิ
ั
ั
สามารถประเมินได้ว่าผลิตภัณฑ์หรือองค์กร ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ดีเพียงใด
ี่
ความเสยงทางสังคม (Social risk)
่
้
็
หมายถึงประเด็นด้านสังคมที่มีแนวโนม ที่จะมีผลกระทบทางสังคม ที่เปนอันตรายตอผู้มีส่วนร่วม
่
่
ผ่านกิจกรรมขององค์กรทีศึกษา หรือความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ความเสียงทางสังคมมักจะวัดในระดับประเทศ
ุ
ระดับอตสาหกรรม หรือระดับองค์กร (UNEP, 2020) ซึงวัดโดยใช้แนวทางมาตราส่วนอ้างอิง
่
ผลกระทบทางสังคม (Social impact)
ุ
่
หมายถึงผลลัพธ์เชิงบวกหรือเชิงลบทีเกิดจากความสัมพันธ์ทางสาเหตระหว่างกิจกรรมขององค์กรที ่
่
ศึกษา ทั้งทางตรง และทางอ้อม ทีเกียวข้องกับความเปนอยูทีดี ของผู้คนในสังคม
่
่
่
็
ครอบคลุมภายใต้กลุ่มผลกระทบทีศึกษา (UNEP, 2020) ซึงวัดโดยใช้แนวทางเส้นทางผลกระทบ
่
่
16