Page 18 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 18
18
และดี (ผ่านมาตรฐานหากมีมาตรฐานส าหรับตัวชี้วัดนั้น ๆ) ดังนั้น หากประเด็นใด มีมาตรฐานทางสังคม
่
่
่
่
จะมีระดับต า และ ระดับดีเท่านั้น เนืองจากมาตรฐานมีก าหนดว่าต้องผ่านเกณฑ์ทีก าหนด ซึงระดับการรับรู้
คือ ผ่านเกณฑ์ หรือไม่ผ่านเกณฑ์ เท่านั้น เมื่อนาผลมาเทียบเคียงกับระดับการรับรู้ ตามทีแนะนาในคูมือนี ้
่
่
่
่
ทีมี 3 ระดับ คือระดับ ต า ปานกลาง และดี ดังนั้นไม่ผ่านเกณฑ์ จึงเทียบได้กับระดับต า ผ่านเกณฑ์ จึงเทียบ
่
็
ิ
่
ั
่
ั
ได้กับ ระดับดี ซึงจะไม่มีระดับปานกลาง ส าหรับประเด็นทีมีมาตรฐานทางสังคม คาอธบายสาหรบประเดนทางสงคม
่
้
ประเด็นย่อยทางสังคม และตัวชีวัดทางสังคม ของแตละกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แสดงในตารางที 1-12
่
้
ตารางท 1 ค าอธิบายประเด็นทางสังคมของเจาของไร่
ี่
ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย ค าอธิบาย
่
็
่
ุ
๋
ความรับผิดชอบ 1.1 มีการใช้ปุยหรือ การใช้ปุยหรือสารชีวภาพเปนอีกทางหนึงทีช่วยอนรักษ์
๋
๋
ตอสังคม สารชีวภาพ ดินและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งปุยหรือสารชีวภาพมีราคาถูก
่
่
กว่าปุยเคมี นอกจากเปนการแสดงความรับผิดชอบตอ
๋
็
๋
สังคมแล้ว การใช้ปุยหรือสารชีวภาพ ยังสามารถช่วยลด
่
ต้นทุนการผลิตให้แกเกษตรกรด้วย
1.2 เข้าร่วมกลุ่ม เกษตรอินทรีย์ช่วยอนรักษ์ดินและระบบนิเวศ และสินค้า
ุ
เกษตรอินทรีย์ เกษตรอินทรีย์ยังช่วยส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีสุขภาพทีดี
่
ขึน ดังนั้นหากเกษตรกรเข้าร่วมกลุ่มเกษตรอินทรีย์ จะ
้
ุ
่
่
็
เปนอีกทางหนึงทีช่วยสนับสนนให้ผู้คนในสังคม มี
สุขภาพทีดีขึน จึงเปนการแสดงความรับผิดชอบตอ
็
่
่
้
่
สังคมได้อีกทางหนึง
18