Page 15 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 15
15
ี
ี
2.4 วิธการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชวิตทางสังคม
วิธีการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตทางสังคม (Social Life Cycle Impact Assessment: (S-
่
่
LCIA) มีอยู 2 แนวทางหลัก ได้แก แนวทางมาตราส่วนอ้างอิง (Reference scale approach)
และแนวทางเส้นทางผลกระทบ (Impact pathway approach)
โดยแตละแนวทาง มุ่งเปาหมายของผลลัพธ์ทีแตกตางกัน แนวทางมาตราส่วนอ้างอิง จะใช้
่
่
่
้
้
่
เมือมุ่งเนนไปทีประสิทธิภาพทางสังคมหรือความเสียงทางสังคม ของผลิตภัณฑ์หรือองค์กร
่
่
้
่
่
แนวทางเส้นทางผลกระทบถูกนามาใช้ เมือมุ่งเนนไปที การท านายผลกระทบทางสังคมของผลิตภัณฑ์
่
หรือองค์กร ทีมีตอผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (UNEP, 2 0 2 0 ) ซึงแนวทางนี จะใช้ได้ก็ตอเมือ
้
่
่
่
่
่
่
่
ทราบเส้นทางผลกระทบทีชัดเจนส าหรับทุกกลุ่มผลกระทบทีต้องการศึกษา ซึง ณ
่
ปจจุบันมีการศึกษาเส้นทางผลกระทบส าหรับบางประเด็นทางสังคม แตยังมีไม่มากนัก ดังนั้น แนวทางนี
้
ั
่
ยังมีข้อจ ากัดในการใช้งานอยู่ วิธีการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตทางสังคม ทีแนะนาในคูมือเล่มนี ้
่
่
ใช้แนวทางวิธีมาตราส่วนอ้างอิงเนืองจากมีจุดมุ่งหมายเพือระบุประสิทธิภาพทางสังคมของพืชเศรษฐกิจ
่
่
ทีศึกษา
อีกทั้ง Tsalidis et al. (2020) แนะนาว่า การใช้วิธีแนวทางมาตราส่วนอ้างอิง (Reference scale
่
่
approach) ส าหรับการศึกษาข้อมูลเฉพาะพืนที จะได้ผลลัพธ์ทีแม่นย ากว่า ดังนั้น จะเห็นได้ว่า
้
่
แนวทางของวิธีการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตทางสังคม (S-LCIA) ทีแตกตางกัน จะ
่
ให้ผลลัพธ์ข้อมูลทางสังคมทีตางกัน ผู้ศึกษาสามารถศึกษาค านิยามของผลลัพธ์ตาง ๆ ดังนี
่
่
่
้
15