Page 262 - ebook.msu.ac.th
P. 262

262             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




               ๓ แห่ง (พานพร้าว, ปะโค, เวียงคุก-ผู้เรียบเรียง) ที่กล่าวนามมาแล้วนั น
               เห็นควรจะจัดตั งรวมเป็นเมืองใหญ่ควบคุมดูแลเมืองเล็กอีกทีหนึ่ง เพราะบาง

               เมืองที่อยู่ทางฝั่งซ้ายแม่น ้าโขงยังกระด้างกระเดื่อง...


                       ...จึงขอพระราชทานตั งให้ท้าวสุวอธรรมา  (หรือบุญมา)  บุตรอัคร์ฮาด
               เมืองยโสธร หลานเจ้าพระวิชัยราชสุริยวงศ์ขัติยราช  (หน้า)  เจ้านครจ้าปาศักดิ์

               อันมีเชื อสายสืบต่อเจ้าพระตา เจ้าพระวอฯ  (พระวรราชภักดี) เมืองอุบลราช-

               ธานี  มาก่อนเป็นเจ้าเมือง .... ท้าวสุวอได้พิจารณาแล้วเห็นว่า บริเวณบ้านใผ่
               ริมแม่น ้าโขงฝั่งขวาเป็นชัยภูมิที่เหมาะแก่การสร้างเป็นเมืองใหญ่...จึงทรงพระ

               กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านใผ่เป็นเมืองหนองคาย... ตั งท้าวสุวอธรรมาเป็น
               "พระประทุมเทวาภิบาล" โดยถือเอาดอกบัวในหนองคายมาเป็นศิริ-มงคลนาม

               เจ้าเมืองหนองคายคนแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๐...”   (หน้า ๒๒๐-๒๒๒)


                        หากปรากฏนาม “หนองคาย” ในต านานอุรังคธาตุ ฉบับ

               จ.ศ. ๑๑๖๗  (พ.ศ. ๒๓๔๘)  จะเกิดอะไรขึ้น
                       จากการศึกษาข้อมูลจารึกที่วัดจอมมณี ลงศักราช พ.ศ. ๒๐๙๘, จารึก

               วัดศรีเมือง พ.ศ. ๒๑๐๙ และจารึกวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. ๒๑๕๑ ออนไลน์ใน
               ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย จัดท าโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

               (http://www.sac.or.th)  นั้นไม่ปรากฏนามของเมืองหนองคายแต่ประการใด
               ซึ่งต่างจากเอกสารอุรังคธาตุ ฉบับที่ปริวรรต ผูก ๑-๔ จะระบุ “เมืองหล้าหนอง

               ทั้งหลาย” ทั้งหมด หากแต่ในเมื่อปริวรรตในผูกสุดท้าย คือ ผูกที่ ๕ ลานที่ :

               ๑๒ หน้าที่ ๒ (ล้า)  กลับปรากฏค าว่า “หนองคาย” เพียงที่เดียว ในตอนที่เจ้า
               สังขวิไชยยะเถร ได้น าพระบรมธาตุฝ่าเท้าขวา มาประดิษฐานในอูปมุงไว้เมือง

               หล้าหนอง ซึ่งคนทั้งหลายว่า หนองคาย ดังรูปภาพและข้อความที่ยกมา
   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267