Page 115 - ปฏิบัติการ Lab Bilology II
P. 115
ี�
บทปฏบัติการท 9 การแยกสกัดดเอ็นเอและพันธุวิศวกรรม
ิ
ี
DNA Extraction and Genetic Engineering 107
่
ี
้
ี
้
็
ี
ี
่
ึ
ยีนรายงานผล (reporter gene) วาพลาสมดในเซลลแบคทเรียนันมชินดเอนเอทตองการแทรกอยูหรือไม ซง
ิ
ี
ี
ิ
ี่
เซลลเจาบานที่ไดรับดีเอ็นเอสายผสมจะมลักษณะทแตกตางไปจากเดม ในยีน lacZ มตําแหนงตัดจําเพาะของ
ี่
็
ี
เอนไซมตัดจําเพาะชนิดตาง ๆ ที่สามารถใสชิ้นดเอนเอทตองการแทรกเขาไป (ภาพที 9.8 และ 9.9) นอกจากนัน
้
่
การแทรกชินดีเอ็นเอเขาไปในพลาสมิดในบริเวณยีน lacZ จะทําใหยีน lacZ ไมทางานโดยไมสามารถสราง
้
ํ
เอนไซม β-galactosidase ได เมือนําพลาสมิดใสเขาไปในเซลลเจาบานแลวเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชือทีใสยา
่
้
่
่
ึ
ปฏิชีวนะแอมพซลลิน และสาร IPTG ซงเปนสารเหนียวนําการสราง β-galactosidase พรอมกับใสสาร X–gal
ิ
ิ
่
ซึ่งเปนสารตั้งตนของเอนไซมนี้ เซลลที่ไดรับพลาสมิดเทานั้นที่เจริญไดและเพิ่มจํานวนขึ้นจนมองเห็นเปนโคโลนี
และสีของโคโลนีแบคทีเรียจะบอกไดวาแบคทเรียโคลนนั้นสรางเอนไซม β-galactosidase ไดหรือไม และเปน
ี
ตัวรายงานผลวาแบคทีเรียโคลนนั้นไดรับดีเอ็นเอสายผสมหรือไม (สมาคมพนธุศาสตรแหงประเทศไทย, 2548)
ั
ดังภาพที่ 9.10
ภาพที่ 9.8 พลาสมิดดีเอ็นเอที่มียีนเครื่องหมายในการคัดเลือกและยีนรายงานผล
(ที่มา: สุนัดดา โยมญาต, 2558)
ิ
ไดดีเอ็นเอสายผสม
(recombinant DNA)
ผสมพลาสมิดดเอ็นเอและสาย เชื่อมตอชิ้นดีเอ็นเอ
ี
ดีเอ็นเอที่สนใจที่ตัดดวย กับพลาสมิดดวย
เอนไซมตัดจําเพาะแลว เอนไซม DNA ligase
ภาพที่ 9.9 ขั้นตอนการสรางดีเอ็นเอสายผสม (ที่มา: ดัดแปลงจาก สุนัดดา โยมญาต, 2558)
ิ