Page 27 - ปฏิบัติการ Lab Bilology II
P. 27
์
้
ี�
บทปฏบัติการท 2 กระบวนการสังเคราะหดวยแสงและการหายใจระดับเซลล ์
ิ
Photosynthesis and Cellular Respiration 19
ุ
ั
ี
ึ
ี
6. บันทกผล เปรียบเทยบปรากฏการณการเรืองแสงของรงควัตถกบสารละลายสียอมผาสีเขยว
ลงในตาราง 2.1
หลอดซาย หลอดขวา
ภาพท 2.1 วิธีการสังเกตสีสารละลายทางดานแสงทะลุผาน (ซาย) และทางดานแสงตกกระทบ (ขวา)
ี่
ผลการทดลอง
่
ี
ุ
ี
ตารางผลการทดลองท 2.1 เปรียบเทยบการดดกลืนแสงของสารละลายรงควัตถและสียอมผาสีเขยว
ู
ี
ตัวดูดกลืนแสง สีที่มองเห็น
ดานที่แสงตกกระทบ ดานที่แสงทะลุผาน
ุ
สารละลายรงควัตถ (หลอด ก)
สียอมผาสีเขยว (หลอด ข)
ี
กิจกรรมที่ 2.2 ชนิดของรงควัตถุที่สกัดได
่
เทคนิคทาง paper partition chromatography เปนวิธีการหนึงทสามารถใชในการแยกสารตางๆ
ี
่
่
ออกจากกน วิธีการนี้มักใชตัวทําละลายสองชนิดผสมกัน และม chromatographic paper ทาหนาทเปน
ี
ี
ํ
ั
ตวกลางใหสารละลายเคลือนท่ไปตามแนวยาวของกระดาษ รงควัตถุตางชนิดกันจะถูกแยกออกจากกัน โดย
่
ั
ี
อาศัยหลักการสองประการคือ
ั
1. เมื่อตัวทําละลายเคลื่อนที่ผานรงควัตถุที่มีอยูบนกระดาษ รงควัตถุตางชนิดกนจะละลายปนไป
ํ
กับตัวทําละลายไมเทากัน รงควัตถุที่ละลายในตัวทําละลายใดไดดีกวาก็จะละลายปนไปกับตัวทาละลายนั้นเปน
สวนใหญ
่
ี
ั
2. รงควัตถุแตละชนิดจะเคลื่อนทไปบน chromatographic paper ดวยความเร็วไมเทากน
ี
ํ
่
ู
่
ั
ู
ั
เนืองจากถกดดซบบน chromatographic paper ไมเทากน รงควัตถุทละลายปนอยูกับตัวทาละลายก็จะ
เคลื่อนไปตาม chromatographic paper ดวยความเร็วที่ไมกัน
วัตถุประสงค
เพื่อศึกษาวิธีการแยกรงควัตถุดวยเทคนิคทาง paper partition chromatography
วัสดุและอุปกรณ
1. รงควัตถุของพืชที่สกัดดวย ethanol 95 % 5. หลอดทดลองขนาด 50 มล. 1หลอด / คน
2. 2. สารละลาย Petroleum ether : acetone 6. ลวด
ในอัตราสวน 92:8 (ปริมาตร : ปริมาตร)
ิ
3. Chromatographic paper 1/ คน 7. ดนน้ามน
ํ
ั
4. Capillary tube 8. แลค 1 อน / กลุม
ั