Page 79 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 79

6.1) หนวยงานรฐศกษาสถานะปจจุบน อุปสรรค และข้นตอนการดำเนินงานท่เก่ยวของกับเอกสารประเภทตางๆ
                  ั
                       ี

                       6.2) หนวยงานรัฐจัดลำดับความสำคัญของกระบวนงานท่สำคัญ และตองไดรับการปรับปรุงเปนอันดับแรก

                       6.3) สพร. รวมกับหนวยงานกลางท่เก่ยวของพัฒนากระบวนการดำเนินงานดิจิทัลท่สามารถทำงานรวมกัน มีความสอดคลอง
                        ื
              และสามารถเช่อมโยงและบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงานของรัฐ บนพ้นฐานของธรรมาภิบาลขอมูล การเปดเผยขอมูล และ
              การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐตามมาตรฐานและแนวทางที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกำหนด

                       6.4) หนวยงานรัฐจัดใหมีการเช่อมโยงแลกเปล่ยนขอมูลหลัก (Master Data) หรือขอมูลเอกสาร/หลักฐานราชการที
              หนวยงานรัฐอ่นออกใหและประกาศไวท่ศูนยกลางแลกเปลี่ยนขอมูลภาครัฐ สำหรับประกอบการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต
                       ื
              รับจดทะเบียน รับจดแจง หรือรับแจง โดยไมจำเปนตองขอขอมูลท่ซ้ำซอนจากประชาชน
                       6.5) หนวยงานรัฐพัฒนาตอยอดบริการตามภารกิจของหนวยงานจากระบบบริการกลางหรือโครงสรางพ้นฐานท่หนวยงาน

              กลางพัฒนาข้น เชน การนำระบบการพิสูจนและยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID)
                       ึ
                       6.6) สพร.พัฒนามาตรฐาน คูมือ กระบวนการหรือการดำเนินงานทางดิจิทัล เชน แนวทางการปฏิบัติวิธีการทาง

              อิเล็กทรอนิกสใหกับกระบวนการท่พบโดยท่วไปในบริการดิจิทัลภาครัฐ (Common Process) 8 กระบวนการ และนำเสนอตอ
              คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลพิจารณาประกาศใชใหสอดคลองกัน
                       6.7) สพร. และ/หรือหนวยงานสวนกลางนำกรณีตัวอยางการปรับกระบวนการทำงานท่เปนดิจิทัลในหนวยงานที

              ประสบความสำเร็จ เพ่อถอดบทเรียนสูการปรับกระบวนการใหหนวยงานอ่นๆ และทองถ่น

                       6.8) สพร. ประเมินผลการดำเนินงานเพ่อนำมาปรับปรุงการดำเนินงานของหนวยงานรัฐในวงกวาง
              7) ทบทวน ปรับปรุง และพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการท่เอ้อตอการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยการทบทวนกฎหมาย
              กฎระเบียบ มาตรการท่ไมสอดคลองกับแนวทางการดำเนินงานในอนาคต พัฒนากฎระเบียบใหมใหทันตอเทคโนโลยีท่เปลี่ยนไป รวบรวม
              ประเด็นปญหาและอุปสรรคในปจจุบัน เพ่อพิจารณาความจำเปนทางกฎหมายและความคุมคาทางเศรษฐกิจ รวมถึงศึกษาแนวทางการ
                    ี
              ปฏิบัติท่ใชในตางประเทศ  เชน  การปรับปรุงโครงสรางสวนราชการใหสอดคลองกับบริบทปจจุบัน  หรือการจัดการลายมือช่อ
              อิเล็กทรอนิกส นอกจากน้ ตองหารือกับผูมีสวนเก่ยวของ เพื่อเขาใจกฎระเบียบ ประเด็นปญหาและผลกระทบ รวมถึงรับฟง
              ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากหนวยงานที่เกี่ยวของ  พรอมทำการประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้น    โดยหนวยงานสวนกลาง  ประกอบดวย
              สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล รวมกันดำเนินการดังน

                       7.1)  ศึกษากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการตางๆ ท่เปนอุปสรรคตอการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล  เพ่อวิเคราะหแนวทางแกไข
                  ั
              รวมท้งกรณีศึกษาแนวทางการปรับปรุงกฎระเบียบตางประเทศ
 ื
    7.2) ระบุรายช่อกฎหมาย กฎระเบียบท่เปนปญหาตอการดำเนินงานดานรัฐบาลดิจิทัล ไมวาจะเปนดานขอมูล การแลกเปลี่ยน       และข้นตอนท่ไมจำเปน ี  ื  ี ี  ั  ึ  ี  ี  ื  ื ั  ี  ี  ั ื  ี  ี  ี  ี  ี  ั ี  ื  ื  ื ื  ิ  ี  ี  ี  ี  ื  ี  ื  ี  ื  ื  ี ้ ่ ่
 ี
                     โดยยุทธศาสตรท่ 1 มีการพัฒนาใน 2 ดานสำคัญ ไดแก บริการพ้นฐาน (Common Services) และโครงสรางพ้นฐาน
  การเปดเผย เปนตน  (Foundation) ท่สงเสริมการเขาถึงขอมูลพ้นฐานท่จำเปนในการทำงานของแตละหนวยงานอยางไรรอยตอ ยกระดับบุคลากรภาครัฐ
                         ี
                                                ี
                                           ื
 ี
    7.3) รับฟงความคิดเห็นเพ่มเติมจากหนวยงานท่เกี่ยวของ พรอมทำการประเมินผลกระทบที่เกิดข้นในการปรับปรุงกฎหมาย  ใหมีทักษะการทำงานดิจิทัลที่สอดคลองกับบริบทโลกในการปฏิบัติงาน และใหบริการประชาชนที่สะดวกรวดเร็ว และแมนยำ ทั้งนี้
 ึ
 ิ
 ื
 ี
    7.4) ผลักดันใหเกิดการปรับเปล่ยนกฎหมายใหสอดรับกับการทำงานดิจิทัล และผลักดันใหประกาศเพ่อมีผลบังคับใชอยาง  ยุทธศาสตรท่ 1 มีโครงการสำคัญ จำนวน 14 โครงการ ดังแผนภาพโครงการสำคัญภายใตยุทธศาสตรท่ 1  (รายละเอียดโครงการสำคัญ
                      ี
                                                                                  ี
 เปนรูปธรรม ผานกลไกของคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล   ภายใตยุทธศาสตรที่ 1 ปรากฏในภาคผนวก 4)
 ื
    7.5) สรางความรวมมือกับหนวยงานท่เก่ยวของเพ่อยกระดับและพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบใหสอดรับกับทิศทางของ  แผนภาพโครงการสำคัญภายใตยุทธศาสตรที่ 1
 ี
 ี
 รัฐบาลดิจิทัลบนมาตรฐานเดียวกัน
    7.6) สรางความตระหนักรูใหกับบุคลากรของหนวยงานภาครัฐ ในการทำความเขาใจบริบทของกฎหมาย เพ่อใหเกิด  Focus Area  2566  2567  2568  2569  2570  หนวยงานผูรับผิดชอบ
 ื
 ี
 การบริหารงานและการใหบริการทางดิจิทัลท่มีประสิทธิภาพ  1. โครงการพัฒนาบริการและเครื่องมือกลางดิจิทัลภาครัฐ  ǁ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
                        การพัฒนา
 ิ
 ื
    7.7) ติดตามและประเมินผลสัมฤทธ์ของการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบเพ่อตรวจสอบผลการดำเนินงาน และกำหนด  บริการพื้นฐานของรัฐ
 แนวทางปรับปรุงในอนาคต  (Common Services)  2. โครงการพัฒนาศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางภาครัฐ  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
                                       (Government Data Exchange)
                                       3. โครงการพัฒนาบริการดิจิทัลสาธารณะตนแบบ (Digital Service)  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
 8) การยกระดับทักษะดานดิจิทัล และวัฒนธรรมการใชเทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ โดยจัดใหมีหลักสูตรและแนวทางกลาง
                                                                               ǁสำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
 สำหรับการพัฒนาและยกระดับทักษะดิจิทัลขาราชการและบุคลากรภาครัฐของทุกหนวยงาน และหลักสูตรสำหรับพัฒนาทักษะดิจิทัล  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
                                       4. โครงการพัฒนากรอบขีดความสามารถเชิงดิจิทัล ดานการใชดิจิทัลของบุคลากร  ǁสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
 ใหมๆ ตามทิศทางความกาวหนาทางเทคโนโลยี นวัตกรรมดานดิจิทัล รวมถึงจัดใหมีเครื่องมือสนับสนุนการยกระดับทักษะดิจิทัลขาราชการ  ภาครัฐ (Digital Capabilities)  ǁสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
                                                                                    สังคมแหงชาติ
 ี
 และบุคลากรภาครัฐ และบริหารจัดการในดานตางๆ อยางเปนระบบ  นอกจากน้ ยังจำเปนตองพัฒนาทักษะผูนำดานดิจิทัลใหกับ  โครงสรางพื้นฐาน  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยสถาบันพัฒนาบุคลากร
                       (Foundation)
 ผบริหารหนวยงานภาครัฐ และผบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงใหมีวิสัยทัศนและความรความเขาใจเกี่ยวกับการขับเคล่อนการพัฒนา       ภาครัฐดานดิจิทัล (สถาบัน TDGA)
 ู
 ื
 ู
 ู
                                                                              ǁหนวยงานภาครัฐท่รับผิดชอบดูแลขาราชการประเภทตางๆ
                                                                                       ี
 รัฐบาลดิจิทัล อีกดวย                 5. โครงการยกระดับความสามารถและสรางความพรอมของบุคลากร เพื่อสงเสริม       ท้ง 16 ประเภท
                                                                                ั
                                       รัฐบาลดิจิทัล (Government Digital Skills)  ǁสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่อเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                                                                                            ื
    8.1) สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล ของ สพร. รวมกับ สำนักงาน ก.พ. และ สดช. จัดทำหลักสูตรกลางสำหรับ  ǁหนวยงานท่จัดการฝกอบรม เชน สถาบันพัฒนาบุคลากร
                                                                                    ี
                                                                                              ั
 การพัฒนาทักษะดานดิจิทัล ใหบุคลากรภาครัฐมีความรูความเขาใจดานมาตรฐานขอมูลดิจิทัล (เชน ธรรมาภิบาลขอมูล ขอมูลสวนบุคคล        ของภาครัฐ และสถาบันการศึกษาท้งรัฐและเอกชน รวมถึง
                                                                                   บริษัทเทคโนโลยีท่เปนเครือขายพันธมิตรของสถาบัน TDGA
                                                                                       ี
 เปนตน) การทำงานเช่อมโยงผานระบบกลางและแพลตฟอรมกลางดิจิทัลของหนวยงานภาครัฐ การเปดเผยขอมูลดิจิทัลท่เปนมาตรฐาน  ǁสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
 ี
 ื
 เพ่อสรางความโปรงใส การรักษาความม่นคงปลอดภัยไซเบอร ท่จะเปนสวนสำคัญในการพัฒนาตอยอดการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล   6. โครงการการพัฒนาเครือขายอาสาสมัครดิจิทัล (อสด.)       และสังคมแหงชาติ
 ี
 ั
 ื
                                                                               ǁสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
    8.2) หนวยงานรัฐพัฒนาบุคลากรภาครัฐใหมีความรูทักษะดานดิจิทัลท่จำเปนตอการบริหารงานในการดำเนินงานภาครัฐ       และความมั่นคงของมนุษย
 ี
                                                                               ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
 และใหบริการดิจิทัลภาครัฐแกประชาชน ผานสถาบันจัดอบรมที่มีมาตรฐาน
                                       7. โครงการศูนยเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลกาครัฐ (DGTi) เพื่อสนับสนุน  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
    8.3) สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล ของ สพร. รวมกับหนวยงานกลางที่เกี่ยวของจัดใหมีเครื่องมือสนับสนุน  บริการดิจิทัล สำหรับหนวยงานระดับทองถิ่น และสรางนวัตกรรมภาครัฐ  ǁกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
 การพัฒนาและยกระดับทักษะดิจิทัล ครอบคลุมทั้งรูปแบบออนไลนหรือออฟไลน
 ี
    8.4)  สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐดานดิจิทัล ของ สพร. สงเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการเก่ยวกับการพัฒนา  8. โครงการพัฒนามาตรฐานเชื่อมโยงแพลตฟอรมกาครัฐ เพื่อเสริมสรางบริการ  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
                                      ที่สะดวกสำหรับประชาชน (Interoperable Services thru Digital Standard)
 บุคลากรดานดิจิทัลใหบุคลากรทุกระดับสามารถเขาถึงบริการวิชาการไดอยางทั่วถึงและเทาเทียม
 ี
    8.5) สพร. และหนวยงานกลางท่เก่ยวของสรางความรวมมือกับภาคเอกชนผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีท้งในประเทศและ  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
 ี
 ั
                                     9. โครงการแนวทางปรับปรุงกระบวนการใหบริการประชาชนของภาครัฐผานระบบดิจิทัล  ǁสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
 ตางประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณและถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยแกบุคลากรภาครัฐ  (Government-Digitalization Process Guideline)    ǁสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
                                                                               ǁสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
    8.6) สพร. ประเมินผลการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรรัฐ และปรับปรุงหลักสูตรใหมีประสิทธิภาพ และทันสมัย
 อยางตอเนื่อง                      10. โครงการสงเสริมการจัดทำธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐในระดับหนวยงาน  ǁสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
                                                ี
                                          ื
                                     เพ่อการเช่อมโยงแลกเปล่ยนขอมูล
                                       ื
 9) สงเสริมความรวมมือระหวางรัฐและเอกชนในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล  จัดใหมีตนแบบการพัฒนา  Digital  Government   11. โครงการระบบคลาวดกลางภาครัฐ   ǁสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
                                       (Government Data Center and Cloud            และสังคมแหงชาติ
 ื
 Testbed Framework เพ่อใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการแบงปนแนวคิดและพัฒนานวัตกรรมการบริการรัฐบาลดิจิทัล  Service: GDCC)
 ใหภาครัฐ ตามความเหมาะสมของโครงการที่เอกชนเสนอ  12. โครงการศึกษา
    9.1) กำหนดหลักเกณฑ และรูปแบบท่เปนไปไดในการรวมพัฒนาบริการดิจิทัลของรัฐรวมกับเอกชน   แนวทางการปรับปรุง  ǁ สำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
 ี
                                      โครงสรางสวนราชการ
                                      ภายในกรมและศึกษา                         ǁ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
    9.2) พัฒนา Digital Government Testbed Framework เพ่อใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการแบงปนแนวคิดและ  ระบบการจางงาน
 ื
                                      รูปแบบใหมในภาครัฐ
 พัฒนานวัตกรรมการบริการรัฐบาลดิจิทัลใหรัฐ ตามความเหมาะสมของโครงการท่เอกชนเสนอ
 ี
    9.3) เผยแพร/ประชาสัมพันธใหภาคเอกชนรับรู และรวมกิจกรรมในวงกวาง  13.  โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย  ǁ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
    9.4) ประเมินผลสัมฤทธ์ของความรวมมือระหวางรัฐและเอกชน
 ิ
                                       14. โครงการศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรภาครัฐ  78
                                       (Government Computer Security Incident Co-ordination Center)  ǁ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84