Page 102 - ebook.msu.ac.th
P. 102

102             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




                       จีงให้เอา (หิน) เมืองตักกสิลานคร หน่วยนึงฝังไว้ก้ าวันตกแจเหนือ
                                     ๔๒๙
               จีงแปงฮูปม้าอะสาชะไน  ไว้หมายด้านเหนือว่าอุรังคธาสพระพุทธเจ้าได้
               สระเด็ดจจออกกท าปาฏิหาน ฮู้เยื่องอันบ่ให้ม้างพุทธวัจจนะดังนั้นจักธ านวย
               สาสนานัคคละนิทาน (ศาสตร์นครนิทาน) อยู่ฝ่ายด้านเหนือจีงเจือมาใต้ให้

               อาชะไนยปิ่นหน้าเมื่อเหนือเพื่อดังนั้นแล
                                                                     ๔๓๐
                        ๒/๒๐/๒ (เท) อันนึงพระยาสุวัณณภิงคละหากได้สระดับ  ฮับฟังเอา
               อันสัพพัญญูเจ้าเทสสนาให้แจ้งนิทานให้แปงไว้หั้นแล
                                                        ๔๓๑
                       มหากัสสัปปะเจ้าจีงให้แปงฮูปพนละหก   ตัวนึงปิ่นหน้าเมื่อเหนือ
                       ๔๓๒
               อยู่เฮียง  อาชาไนยหมายว่าแม่นพระยาติโคตรบูรตนจักได้ถะปันนาไว้
               อุรังคธาสแลค้ าพุทธสาสนาเท่าห้าพันวัสสาก้ าฝ่ายใต้ขึ้นเมื่อเหนือแล้วจีงไต่เป็น
               ดั่งม้าพละหกตัวประเสิดหั้นแล


                       บดว่าอาชะไนยแลพละหกตัวนี้  พระยาได้เถิงอรหันตแล้วจีงแจ้ง
               ในปัณหาด้วยปุพเพเนวาสสะญาณปะระสัญจิตตะญาณ (บุพเพนิวาสญาณ
               และปรสัญญิตญาณ) จีงให้แปงไว้ในนิทานที่นี้หั้นแล  นักปราสเจ้าทั้งหลายดู

               แล้วค่อยพิจารณาดูเทิน
                       ยามนั้นมหากัสสัปปะพาอรหันต ๕ ฮ้อยตนเวียนปัทธะ (ประทักษิณ)
               ท้าวพระยาทั้ง ๕ จีงพ้อมกันอธิฏฐานเวนข้าวของเงินค าเคื่องบรโพกทั้งมวร
               อันถะปันนาไว้ฮองลุ่มนั้นด้วยค า ๒/๒๑/๑ ว่า  ข้าวของฝูงนี เป็นพุทธสันตากัง

               (พุทธสันตกะ) เท่า ๕ พันวาสสาพุ้นแล








               ๔๒๙
                   อาชาไนย-ผู้ปริวรรต
               ๔๓๐
                   สดับ-ผู้ปริวรรต
               ๔๓๑
                    ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  กล่าวว่า  ม้าพลาหก  หน้า ๑๖๒.  และฉบับของกรม
               ส่งเสริมวัฒนธรรม (๒๕๕๓)  กล่าวว่า  ม้ามณีกาบ  หน้า ๗๐.
               ๔๓๒
                   หมายถึง เรียงกัน, เคียงกัน
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107