Page 100 - ebook.msu.ac.th
P. 100

100             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์



                                              ๔๑๖
               หนัก ๙ หมื่น ใส่แหวนแลกระจอนหู  เต็มขันค้าหน่วยนึง หนักเจ็ดหมื่นใส่
                       ๔๑๗
               วันลักคัง  เต็มไตค้าหน่วยนึง หนักแสนนึง โอค้า ๙ หน่วย หนักสองพัน โอ
               เงินเก้าหน่วยแลหน่วย (แล) หนัก ๓ พัน โอนากเจ็ดหน่วยแลหน่วย (แล) หนัก
               ๕ พัน ใส่ไว้ฮองหลุมท่ ากลาง ๒/๑๙/๑ หั้นแล


                       มหากัสสัปปะเจ้าบอกให้เอาไหใหม่ใส่น้ ามาตั้งแลด้านแลหน่วยจีงเขียน
               คาถามังคละโลกใส่ซู่หน่วย สูด (สูตร/สวด) ราหูปริตตใส่น้ า

                       แล้วพระยาสุวัณณภิงคละเอาน้ าหดทั้งสี่ด้านเวียนเมื่อขวา ๓ ฮอบ
                       แล้วพระยาจุลลณีพรหมทัดจีง (เอา) น้ าหดเบื้องตาวันออกจีงก่อขึ้น
                                  ๔๑๘
                       พระยาทั้ง ๓  นั้นอยู่ได้ก่อด้านใดก็ก่อดังเดียวกันนั้นแล้ว คันว่า
               พื้นดินได้วานึงเป็น ลูบ (รูปเตา) จีงปละไว้แต่นั้นพระยาสุวัณณภิงคละจีงก่อขึ้น

               ให้เป็นฮูปฝาบารมี (ฝาระมี) ทั้งยอดสุดให้ได้วานึงแท้แต่เค้าขึ้นเมื่อสุดยอดได้
                                                 ๔๑๙
                                                                        ๔๒๐
               ๒ วามหากัสสัปปะเจ้าแล  จีงขุด เตาฮาง  ทั้งสี่ด้าน ไม้จวง ไม้จัน  ไม้ค้า
                  ๔๒๑
                                                           ๔๒๒
               พัก  ไม้คันธัสสะ (คันทรัสสะ) ไม้ชุมพู ไม้นิโคด  ไม้ฮัง  มาเป็นฟืน สุม

               ๔๑๖
                   หมายถึง ตุ้มหู
               ๔๑๗
                    น่าจะเป็นเครื่องประดับประเภทหนึ่ง ซึ่งมีข้อสังเกตคือ ขนบในการแต่งตัว ที่มักกล่าวเริ่ม
               ตั้งแต่ ส่วนศีรษะ  ส่วนล าตัว และ ส่วนเท้าเช่น มงกุฎ กรองศอ อุทรพันธะ... ตามล าดับลงมา
               ซึ่ง (เครื่องเอ้/แต่งตัว) ที่ชื่อ วันลักคัง  อาจเป็นเครื่องประดับในของล าตัวส่วนบน-ผู้ปริวรรต,
               ในวงสุนทรียสนทนาผ่านสื่อสังคม  คุณยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ ได้ให้ความหมายว่า วันลักคัง : วัลลิ
               (เถาวัลย์)  + ระฆัง ใช้  ๒ กรณี ได้แก่ ๑. ใช้เรียกลวดลายประดับคอระฆังของเครื่องยอดและเจดีย์
               เรียกตามศัพท์อย่างไทยว่า  "บัวคอเสื้อ" และ  ๒. ใช้เรียกเครื่องประดับสวมที่คอ เรียกอย่างไทยว่า
               "กรองศอ"-สุนทรียสนทนาผ่านสื่อสังคม. วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๑ เวลา ๑๑.๐๐ น.
               ๔๑๘
                   ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  กล่าวว่า  พระยาทั้ง ๕
               ๔๑๙
                   หมายถึง เตาที่ขุดลงไปในดิน มีรางส าหรับใส่ฟืน
               ๔๒๐
                   ไม้จันทน์-ผู้ปริวรรต
               ๔๒๑
                   กลัมพัก-ผู้ปริวรรต
               ๔๒๒
                    ไม้นิโครธ-ผู้ปริวรรต
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105