Page 159 - ebook.msu.ac.th
P. 159

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  159



                   ๑๒. พราหมณ์ทั งห้าเมือราชาพิเสกพระยาจันทบุรีปรสิทธิสักกะเทวะ

                           ๔/๙/๑  บัดนี้เล่าคืนจาอรหันตาเจ้าทั้งหลาย  อันก่ออูปมุงไว้อุรังคธาสที่

                   ภูก าพ้าแล้วหั้น เมือสู่เมืองราชคึหนั้น มหากัสสัปปะเจ้าลีง (หลิง) เห็น
                   สัมมะเณน ๓ ตน อันมีคองวัตรปัตติบัติอันดี เจ้าสอนวิปัสสนาภาวนาทั้ง ๓ ตน
                   นี้ได้เป็นภิกขุก็ได้เถิงอรหันตาพ้อมกันซู่ตน


                                 ตน ๑ ชื่อว่า พุทธรักขิตต
                                 ตน ๑ ชื่อว่า ธัมมรักขิตต
                                 ตน ๑ (ชื่อว่า) สังฆรัตต (สังฆรักขิตต)


                                                                             ๖๖๑
                          เจ้า ๓ ตนนี้  ลุกจากเมืองราชคึหพุ้น มาตั้งอยู่หนองกกใก้ที่ภู...

                          “...พระพุทธรักขิตเถระ จึงไปเอา มหารัตนกุมารจากเมืองอินทปัตถา

                   ฝ่ายมหารัตนกุมารนั้น แม่นมหาสุวรรณพิงคารจุติไปเกิด
                          ต่อไปนี้จะได้อธิบายความที่ว่า คัจฉันติ นระ คัจฉันติ โกเว นระ โกเว
                   เชยโย นระ เชยโย สากัง นระ สากัง โจรัง นะระ โจรัง นุเร นระ นุเร แปลว่า
                   มนุษย์ทั้งหลายเหล่าใด ได้ไตร่ตรองถ้อยค า อันปราชญ์แต่บูราณกล่าวไว้ แล้ว

                   ท ากรรมอันเป็นกุศลต่อไปภายหน้าจะได้พบพระยาธรรม  และจะได้เป็นคน
                   สลาดหลักแหลม ถ้าเป็นคนสลาดหลักแหลมอยู่แล้ว เมื่อฟังธรรมค าสั่งสอนของ
                   พระยาธรรมเจ้าก็จะได้เป็นคนสลาดยิ่งขึ้นกว่าเก่าดังนี้ ฝ่ายอรหันต์ ๓ องค์ คือ

                   พุทธรักขิต ธรรมรักขิต และสังฆรักขิต ซึ่งมาจากเมืองราชคฤห์นั้น ก็ได้มาอยู่ที่
                   หนองกกนั้น พระพุทธรักขิตได้ไปเอามหารัตนกุมาร และจุลรัตนกุมาร  สอง
                      ๖๖๒
                   ...”

                   ๖๖๑
                     ข้อความในใบลานขาดตกไปจึงเทียบเคียงจากข้อมูลเอกสารอ้างอิง ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ
                   (๒๔๘๓)  กล่าวว่า ภูหลวง, ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (๒๕๕๓)  กล่าวว่า  ภูลวง

                   ๖๖๒
                      ข้อความในใบลานขาดตกไปจึงเทียบเคียงจากข้อมูลเอกสารอ้างอิง ฉบับของกรมส่งเสริม-
 ภาพที่ ๑๙ พระพุทธบาทบัวบก ในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท เขตอ าเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี   วัฒนธรรม (๒๕๕๓)  ในหน้า ๙๙.

 ถ่ายโดย ราชันย์ นิลวรรณาภา
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164