Page 160 - ebook.msu.ac.th
P. 160

160             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์





                       ...พี่น้อง  ในเมืองอินทปัฏฐนคร  มาบวดในสาสนา  แล้วตั้งอยู่ที่แ-
               ๔/๙/๒ (ไก) คม บึงฟากของ ฝ่ายตาวันออก สั่งสอนวิปัสสนาภาวนา หมื่นกลาง
                                        ๖๖๓
                                                      ๖๖๔
               โฮง จีงส้าง หอแกก (หอแจก?)  จีงว่า หอผา  มาแต่นั้นแล
                       เจ้าธัมมรักขิตต  ไปเอามหาสุวัณณปราสาทกุมมานพี่น้องในเมือง
                                                                      ๖๖๕
               จุลลณีพรหมทัด  มาบวดในสาสนาแลตั้งอยู่เวียงงัวใต้ปากห้วยคุค้า   สั่งสอน
               วิปัสสนาภาวนา หมื่นกลางโฮงส้างวิหานให้

                       เจ้าสังฆรักขิตต  จีงเอา เจ้าสังขวิไชยยะกุมมานมาบวดในสาสนาแล
                                         ๖๖๖
                                                                             ๖๖๗
               ตั้งอยู่ เมืองหล้าหนองทั งหลาย  สั่งสอนวิปัสสนาภาวนา ทะเลี ยงพ่อนม
               ส้างวิหานให้อยู่
                       เจ้าห้าตนนี้ คันว่าเฮียนวิปัสสนาภาวนา  อ้อม (พ้อม) พ่อคูทั้ง ๓ แล้ว

               ได้เป็นภิกขุ ก็ได้เถิงอรหันตาทั้งห้า ด้วยล าดับ
                              ตน ๑ ชื่อว่า มหารัตตนเถน
                              ตน ๑ ชื่อว่า จุลลรัตตนเถน
                              ตน ๑ ชื่อว่า มหาสุวัณณปาสาทเถน

                              ตน ๑ ชื่อว่า จุลลรสุวัณณปาสาทเถน
                                                            ๖๖๘
                              ตน ๑ ชื่อว่า สั ๔/๑๐/๑ งขวิไชยยเถน




               ๖๖๓
                  ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  กล่าวว่า หอแพ, ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
               (๒๕๕๓)  กล่าวว่า หอแก้ว
               ๖๖๔
                  ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (๒๕๕๓)   กล่าวว่า หอผ้าม่าน
               ๖๖๕
                  ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (๒๕๕๓)   กล่าวว่า คูค า
               ๖๖๖
                  ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  ว่า เมืองลาหนองคาย, ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
               (๒๕๕๓)  ว่า เมืองหล้านาหนองคาย
               ๖๖๗
                  ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  ว่า น้าเลี้ยงพ่อนม,  ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม
               (๒๕๕๓)  ว่า เพี้ยพระนม
               ๖๖๘
                  บางผูกจาร สังขวิเชยย-ผู้ปริวรรต
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165