Page 20 - ebook.msu.ac.th
P. 20

20            ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




               หลาน, หลายเทื่อหลายที, หลิง, หลิ น, หลุมปา, เหม้น, เหยี่ยร, ใหย่ (ใหญ่),
               ไหว้ เป็นต้น

                       การเปลี ยนรูปสระจากรูปแบบการเขียนที่พบในใบลาน เป็นรูปค้า

               ปัจจุบัน เช่น เกิ่นเพ เป็น เกื่อนเพ, เงิก เป็น เงือก,  เจิอ เป็น เจือ, เบิง เป็น
               เบื อง, เมิอ เป็น เมือ/เมื่อ, เมิง เป็น เมือง, เสิอ เป็น เสือ/เสื อ,  เหนิอ เป็น
               เหนือ, เฮิน  เป็น เฮือน จะปรากฏทั งเอกสาร เป็นต้น



                       ตามต้นฉบับใบลาน จะปรากฏ w “ไ”  สระไอไม้มลาย ทั งฉบับ แต่ผู้

               ปริวรรตเลือกใช้ “ใ”  สระใอไม้ม้วน ตามอักขรวิธีปัจจุบันเพื่อไม่ให้เกิดความ
               สับสน ซึ่งในการประกอบค้าบางค้ายังรักษาอักขรวิธีเดิม  แต่เพิ่มเติมวรรณยุกต์
               เช่น ใก้ (ใกล้), ใก้ไก (ใกล้ไกล), ใค่ (ใคร่), ใช้, ใด, ใด๋, ใต้, ใส่, ให้, ใหย่ (ใหญ่)

               เป็นต้น


                       ค้าว่า “ข้ำว” ต้นฉบับใบลานเขียน “g-Hk” ออกเสียงพื นถิ่นเป็น เข่า

               เพื่อป้องกันความสับสนจึงปริวรรตเป็น “ข้าว” ตามรูปศัพท์ปัจจุบัน

                       ค้าว่า “นคร” ต้นฉบับใบลานเขียน “o8Vi” “นคฺอร”  เพื่อไม่ให้ยืด
               ยาวเมื่อไปประกอบกับชื่อเมือง จึงเขียน นคร ตามรูปแบบปัจจุบัน

                       ค้าว่า "นำค" ต้นฉบับเอกสารใบลาน เขียนในรูป hy  “นัำ”  น.นา+ไม้

               ซัด (เป็นตัวสะกด ก) เพื่อป้องกันความสับสนกับค้าว่า นาก อันหมายถึง โลหะ
               ผสมมี ทองค้า เงิน ทองแดง ผสมกัน  ผู้ปริวรรตจึงเขียนเป็น “นาค” ทั งฉบับ
                        การใช้ค้าว่า “ธำตุ”  ในต้นฉบับใบลานมักใช้ตัวสะกดในหลาย
               รูปแบบ เช่น ทาด, ทาส, ธาด, ธาตุ, ธาส  ซึ่งจะปรากฏทั งหมดภายในเล่มนี


                       ตัวสะกดปัจจุบันแม่ กด (- t)/ด/ ได้แก่ จ ด ต ถ ท ธ ฎ ฏ ฑ ฒ ช ซ
               ศ ษ ส  แต่ที่ปรากฏพบในเอกสารใบลาน เช่น  กดหมาย,  กระสัด,  กระเสด,
               แกวด, โกด, ขงเขด, คระหัด, คันทรัสสะ, ค้าพีเพด, จิดใจ, จุตติ, ชาตติ, ชาส,
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25