Page 21 - ebook.msu.ac.th
P. 21

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  21



                   ไชยประเสิด,  ตรัสสรู้/ตัดสสรู้,  ทิสส, เพด,  นักปราสบัณฑัตต,  นิมิด,  บรสุด,
                   บวด, บอรกด, บาส, บิณฑิบาส,  บุด, ปฏิบัด, ประเทด, ประสูด,  ประหนีช,
                   ปรากด, ปราสสจาก, ปักกัตติ, ผรากด, พยาส, พันธมิด, พิจิด, พุทธวง, พุทธวิ-
                   ไส, โพธิสัด, ราชคึห, มิตตา, ยดสัก (ยศศักดิ์), รชรด, รด (รถ), รัตนปัณหา,

                   รัสสมี, รหัด, โยด, โยดชนะ, รัสสมี, รัสสี, ราชบุด, ริทธี, ลักขณะบด, วินาด,
                   สระเด็ดจจ,  สระถิด,  สระหมุด,  สรัฏฐิด,  สรัทธารม,  สังฆพัด, สาสตรสิน,
                   สิทธิกาน, สุริยะอาทิด, เส็ด, ไสยาส, เหด, นักปราส, อัจสะจัน เป็นต้น


                          ตัวสะกดปัจจุบันแม่ กบ (- p)/บ/ ได้แก่ บ ป พ ภ ฟ แต่ที่ปรากฏพบ
                   ในเอกสารใบลาน เช่น ทับเสิก, ธรงคัภ, น ้ามันทิบ, ปถมมกับ, ป่าหิมมมัพพาน,
                   ประทูบประทีป, มโหสบ,  สระดับ,  เสบ,  อนุพาบ,  อนุภาบ,  อาสสนาทิบ,

                   อุปปนิไส เป็นต้น

                          ตัวสะกดปัจจุบันแม่ กน (- n)/น/ ได้แก่ น ณ ญ ร ล ฬ  แต่ที่ปรากฏ
                   พบในเอกสารใบลาน เช่น  กาน, กาล, กุมมาน, กูร, คูบาอาจาน, เคื่องบัณณา

                   กาน, จตุโลกกระบาน, จักกวาน, จ้าเริน, เถน,  ทั งมวร, ทัน,  บรบวร, บุรคุร,
                   เบ็งชอร, ปฏิสนทิ, ประฏิหาน, ประกาน, ประจรน (ประจญ), ประทาน, ประริ-
                   วาน, ประหมาน, ปัญญา, พนเสิก, พินค้า, โพธิยาน, มน, เมืองสุวัณณภูมม, ยน,
                   วะฏะสงสาน, วันอังคาน, วิหาน, เวน, สมเณน, สมพาน, สังวาน, สาธุกาน  สีน,

                   ส้าคัน, สูรเสีย, อนตาย, อินที, อนันตคุร เป็นต้น

                          อักขรวิธีธรรมที่เขียนอื่นๆ เช่น ภาษาบาลี-สันสกฤต, มอญ, เขมร

                   เป็นต้น ปรากฏในใบลาน มีดังนี
                          กงจิดแก้ว,  กด (เขียน), กท้า, กนละหน, กังดาน (กังสดาล), กุญชล-
                   ประเทศ, กุญชลเทวบุด, กระกูล, กระเสิม, คมรบ, เจติยะ, จุตติ, จ้านัก, ชุมพูที,
                   เตยะ, ถะปันนา, ทารากา, ทิสส, ท้านวาย, ธ้านวย/ธ้านาย, ธรง, นัคคาระโสก,
                   ไนยะ, บรโพก,  บุญสมพพาน/บุรญสมพพาน/บุรสมพพาน,  ปฏิสรัฏฐาน,

                   ปรกัตติ, ปักกัตติ, ปักกะติ, ปะคือ/ประคือ,  ประถมหัวที,  ปรากด, ปราถนา,
                   ปาฏิหาน,ปาทลักขนานิทาน, พราม, พิจาลนาตอง, พิทูร, พ้าเพ็ง, ภิกขุ, โภยไภ,
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26