Page 19 - ebook.msu.ac.th
P. 19

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  19




                          การใช้ = “ช/ซ”, l “ส”, “๒” แทน c “ฉ” เช่น ชนาก, ปุจสา,

                   มิจสาจาร,  เวินสัน,  สระบับ, สลาส, สะเพา/ส้าเพาะ,  สัน,  สันข้าว,  สันเพน,
                   เสตตสัด, (หมื่น ) ๒ (สลอง) เมือง

                          การใช้ i “ฮ” แทน Ã “ร” ในบางค้า เช่น ฮ่อง (ร่อง), ฮอด (รอด),

                   ฮอบ, ฮอยที่, ฮอยว่า (ชะรอยว่า), ฮัก, ฮักสา, ฮั ว (รั ว), ฮา (เราทั งหลาย), ฮาก

                   (ราก), ฮาว, ฮุ่งเฮือง, ฮู้, ฮูปพนละหก, ฮูปม้าอะสาชะไน, ฮูปสิง,  เฮ็ด, แฮก,
                   เฮียง เป็นต้น


                          ในเอกสารใบลานนี ไม่ปรากฏการใช้ ตัว ? “อย หยำดน้ ำ” แต่พบว่า



                   จารเป็น vP “อฺย” ทั งหมด  เช่น อย้านกัว,  อยาย,  อย่้าแอยง,  อยุดอยา

                   (หยุดหยา-ปฏิสังขรณ์), เอย็น (เย็น), เอยี่ยมดู, เอยียวว่า, อย้าวเฮือน เป็นต้น

                          ค้าควบกล ้า ร ล ว ซึ่งพบในอักขรวิธีปัจจุบัน  พบในต้นฉบับใบลาน
                   เพียงบางค้า เช่น  กวัดแกว่ง, กระโจมหัวค้า,  กระท้านวยทวาย,  กระไทชาย,

                   กระสัน, กลาง, แกวด, ขวาน (ขวาง), ขว่าม, ขวี่, ควัด, ควาน, ความ, แควน,
                   ตระหลบ, แปล,  ลวาด, สว่าง, สวาด, สวาน, แสว่ง,  หว้าย, อว้ายลว้าย เป็น
                   ต้น
                          ส่วนอีกหลายค้าแม้พบว่าเสียงปัจจุบันมีควบกล ้า แต่ในต้นฉบับใบลาน

                   กลับไม่ปรากฏรูปควบกล ้าเพราะเป็นเสียงศัพท์พื นถิ่น เช่น ใก้ไก, กะด้าง, กะ-
                   ดาน, กิ่น, ภูก้าพ้า, เก็ด, คอง, ค้องกอง, คอบ, คอบง้า, คันว่า, ค้าค้าน, เคื่อง,
                   ใค่, ช้างพาย, ป่อง, ป่อย, ปา, เป่งสมี, แปง, พ้อม, พระยาปา, พัดพาก, พาก,
                   ไพ่, ส้าง, สีเมือง, เส่า, หดสง, หอร (หงอน) เป็นต้น


                          การใช้ ห.น ำ  ในต้นฉบับใบลานเขียนหลายรูปแบบ เช่น ประหมาน,
                   ประหมาส, หง่า, หดหย้อ, หนอง, หย้าแพด, หลวง, หลัวฟืน, หล้าค่า, หล้าเทื่อ,
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24