Page 18 - ebook.msu.ac.th
P. 18

18            ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




                       จากภาพตัวอย่าง ๐๓–๐๕ งานช้าระอุรังคนิทาน ฉบับลายมือ ส้านวน
               ร้อยแก้ว ช้าระโดย พระอริยานุวัตร ระบุไว้ในหน้าสุดท้าย ว่า “ในอุรังคนิทำน

               ผูก ๕ มีอยู่ ๒๔ ใบลำน” สรุปคือเป็นคนละฉบับกับอุรังคธาตุ

               จ.ศ. ๑๑๖๗  ฉบับที่ปริวรรตนี  ซึ่ง ผูก ๕ มี จ ำนวน ๒๘ ใบลำน


                       กระบวนการปริวรรตที่ใช้นั น เป็นวิธีการถ่ายถอดค้าต่อค้า บรรทัดต่อ
               บรรทัด สันนิษฐานวรรณยุกต์ เปลี่ยนบางค้าให้สะกดตามรูปแบบปัจจุบัน

               การน้าเสนออักขรวิธีที่พบภายในเล่ม มีดังนี


                       การใช้ = “ช/ซ” ทั งพยัญชนะต้นและตัวสะกด ผู้ปริวรรตจึงเลือกใช้

               ช ในกรณีที่เป็นค้าศัพท์ทั่วไปบางค้า/ตัวสะกดในภาษาบาลี เช่น   กระไทชาย,
               คันไชสี, ชะรือ, ช้างพาย, ช้างสาน, ชุมพูทีป, โชก, ไชยประเสิด, เบ็งชอร, ประ-
               หนีช, ปาชนาก, พิชช, เมืองราชคึห, เมื่อสุดเมื่อช้อย, โยดชนะ, ราชบุด, อะสา
               ชะไน เป็นต้น ส่วน ซ ใช้เขียนค้าศัพท์ที่เป็นเสียงพื นถิ่น ซ่วงไซ้, ซ่อย, ซะกาน,

               ซะดุ้ง, ซะเด็น, ซ้าย, ซ ้า, ซี น, ซู่, เซ่น, นาแซง, ปากซะดิง, ปากเซ, ปากห้วย
               ซวยน้าเลี ยงพ่อนม, ใส่ไซ, อยืนเซา เป็นต้น หรือ แทน ทร ในปัจจุบัน เช่น หาด
               ซาย เป็นต้น  นอกจากนี ยังพบการใช้ ธร เช่น ธรง เป็นต้น



                       เนื่องจากในอักษรธรรมมีรูป f “ฑ/ด” ทั งพยัญชนะต้นและตัวสะกด

               ผู้ปริวรรตจึงเลือกใช้ ด ในกรณีที่เป็นตัวสะกด ในแม่ กด หรือ ค้าศัพท์ทั่วไป
               เช่น กงจิดแก้ว, เทวบุด, กระดี, กระฮอกด่อน, ดอกบัว เป็นต้น
                       ส่วน ฑ ใช้เขียนค้าศัพท์ที่เป็นภาษาบาลีต่อจาก ณ เช่น กุมภัณฑ,

               ดอกปุรณฑรึก,  ดอกมันฑรึก,  ทัณฑะ,  ธัมมะจิณฑา,  นักปราสบัณฑัตต (ฑิต),
               บิณฑิบาส, บุณฑริก, มัณฑกเทวบุด, มัตถกุณฑลีเทวบุด เป็นต้น
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23