Page 22 - ebook.msu.ac.th
P. 22

22            ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




               มราส/มหาราช/มหาราส,  ยักข/ยักขะ,  รัฏฐา, ลิก, วง (วงส์), เว็นเพน (เวิน-
               เพล), สมคาม, สะเภา, สัก (ศักดิ์), สังฮอม, สาดก, สากสี, สี (ศรี), เสวยราส,
               องตถาคต, อนาคตะไภ, อากาด/อากาส, อาชะไนย/อาชาไนย,  อานัด, อามาส,
               อารม, อาวุดสมคาม, อาสยา, อาไส, อิทธิริทธี, เอกกราส/เอกราส


                       รูปแบบศัพท์พื นถิ่นอื่น ๆ ที่ปรากฏตามภำษำพื้นถิ นดั้งเดิม ใน
               อุรังคธาตุฉบับนี  ดังตัวอย่าง

                       กก, กวม, กุ้ม, แก่นจัน, ขอด, ขัว, ขา, ข้าวของ, ขืน, เข้าแฮง, เขี่ยนปี,
               เขือ, แข่น, แข่นว่า, แขวน, คอง, ค่อง, ค้อง,  ค้าเคียด, ค้าสงกา, เค้า, เคิ่ง,
               แคม,  ง้วน, เงือก, โง่น, จวบ, จั่ง, จีง, จี่แข้, จุ้ม, จูด, เจาะ, ชะรือ, ช้างสาน,
               โชก, ซ่อย, ซะเด็น, ซ้าย, ซี น, ซู่, เซ่น, ดา, ด้าม, ดาย, ดาวเพ็ก, ดินจี่, ดีหลี,

               ดูรา, โด่ง, ตอย, ตาบ, ตื่ม, เต็ง, เติน, ถก, ถ่วม, ถ่อง, ถาน, ถึก, ท่อ, ทัวรมาน,
               ทัวระเทียว, ทุง, เท็ง, ธ้าอิด, น ้าเมก, เนา, เนิ ง, บ่เสดบ่หลอ, บ่อน, บ่อย้า,
               บังลับ, บั น, บันดน, บางพ่อง, ปง, ปัว, ปาย, ปูม, เป้ง,  แปบ, แปว, ผก, ผ่อน,
               ผาบ, เผือ, ไผ, ฝุ่นไฟ, พ้อม, พาย, พายลุน, พ้าเพ็ง, พุ้น, พูด, แพ้, ฟด, ม้าง,

               มุร, มูบ, เมี ยน, เมื่อสุดเมื่อช้อย, แม่น , ไมด่อน, ยัวะไย, ยาด, เยียวว่า, เยื่อง,
               โยม, ลวด, ลวา, ล่ามเวียก, ลุก, ลุม, เล็ว, เลิ ก, เลิ กแลบ, โลม, เว้า, แว่น, แวบ,
               สบ, ส้วม, ส่วย, สอก, สาง, สุม,  เสิก, เสี ยง, ห่ม, หว้ายปาเซือม, หอร, หาด
               ซาย, หินมุก, อิด, โอด, ฮาว เป็นต้น


                       รูปศัพท์ที่น้าเสนอเป็นตัวอย่างในข้างต้นนั นจะพบปรากฏทั งเอกสาร
               ยกเว้นในบั นที่ ๑๗ คือ ธาตุหัวอก เพราะใช้การถ่ายถอดเป็นค้าศัพท์ปัจจุบัน

                       การคงค้าศัพท์พื นถิ่นไว้ในขั นแรกนั น  ในขั นนี ต้องการให้ผู้อ่านได้เห็น
               อักขรวิธีการเขียนแบบโบราณ โดยมีการจัดกระท้าข้อมูล จัดวรรคใหม่เพื่อให้
               สะดวกในการอ่าน  ใช้ตัวหนำ เพื่อเน้นค้าศัพท์เฉพาะ, ค้าภาษาบาลี-สันสกฤต,
               ค้าส้าคัญที่น่าสนใจอื่น ๆ ใช้ตัวเอน ในกรณีคัดข้อมูลเปรียบเทียบจากแหล่งอื่น
                       นอกจากนี ยังใช้ชุดตัวเลขก้ากับแทรกไว้ในเนื อหาที่น้าเสนอ เช่น

               ๓/๑๑/๒ (เรา) เป็นการบ่งชี  ชื่อผูก/ชื่อลาน/ชื่อหน้า (...) * (กรณีเลขอังกำ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27