Page 61 - ebook.msu.ac.th
P. 61

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  61


                                                                                 ๑๙๙
                   สาสนาพระตถาคตที่เก่าที่ใหม่ จักได้ก่อเจติยะถ้วน ๒ ที่โลมไว้ยังอูปมุง
                                              ๒๐๐
                   อุรังคธาสพระตถาคตไว้ที่ภูก้าพ้า  นั้นแล
                          คันว่าจุตติได้ไปเกิดในเมืองพาราณสีออกบวดชื่อว่าสุริยวงสาจักกรัสสี
                   อยู่ที่เก่าก็มีแล้วแลจีงจุตติมาเกิดในเมืองอินทปัฏฐนครส้างพุทธสาสนาหั้น ๒ ที่

                   เล่าจุตติมาเกิดในเมืองกุรุนทนครชื่อว่าสุริยวงสากุรุทธนครนั้นก็มีแล

                          ดูราอานนยามนั้นวงสารัสสีก็จุตติมาเกิดในเมืองกุรุทธะชื่อว่าสรวงสา

                   ก็ด้วยว่าต่างแม่แลสุริยวงสาได้เสวยราสเป็นพระยาสุริยวงสาแล้ว  จักได้มา
                   ตั้งอยู่ในเมืองฮ้อยเอ็ดประตูดังแต่ก่อนเป็นถ้วน ๓ นั้นแล
                          สรวงสานั้นก็ได้เสวยราสเป็นพระยากุรุทธะนครจักได้ส้างพุทธสาสนา
                                                                         ๒๐๑
                   ในที่นั้น คันว่าจุตติก็ได้เมือเกิดใน ๑/๑๕/๒ (ขรา) ชั้นฟ้าตุสิดาปรากด  ชื่อว่า
                   วงสาเทวบุดจักลงมาพ้อมเมตเตยยะโพธิสัดพุ้นแล
                          สุริยวงสาส้างบ้านเมืองฮ้อยเอ็ดประตูก็ได้นางเทวีแก้วเล่าจักได้ส้าง
                   สาสนาก็ฮุ่งเฮืองเหมือนเมื่อแต่ก่อนนั้นแล  แล้วจุตติมาเกิดในเมืองสาวัตถีสืบ
                   พุทธสาสนาหั้น ๓ ทีแล เมือเมืองกุสินารา เมืองราชคึหเป็นเค้า จักได้โชตนา

                   พุทธสาสนาแลเมืองแล ๓ ที ด้วยล าดับโสรัสสมหานคร (โสฬสมหานคร) แล
                   เมืองใหย่แลเมืองน้อยทั้งหลายเวียนไปนาคทีป ลังกาทีป จีงคืนมาเมืองอินท-
                   ปัฏฐนคร ชาตติอันถ้วน ๓ ต่อเท่า ๕ พันวัสสาพุ้นแล







                   ๑๙๙
                       อูบมุง  ก่อด้วยอิฐโบกปูนทั้งหลังแม้กระทั่งหลังคา  รูปทรงของหน้าบันมีลักษณะโค้งแหลม
                   ลางแห่งก็เป็นหลังคาชั้นเดียว  ลางแบบเป็นหลังคาซ้อนสองชั้น  หน้าบันมีลวดลายเครือวัลย์ปั้นปูน
                   ประดับ  ที่นครหลวงพระบาง  มีอูบมุงอยู่หลายวัดเช่นที่วัดเชียงทอง  วัดเชียงม่วน  วัดหมื่นนา
                   วัดสุวันนะพูมมาราม  ส่วนที่นครเวียงจันท์  มีที่วัดอินแปง  วัดแสน  วัดหัวซียง  และวัดอูบมุง
                   เป็นต้น  ค าว่า อูบมุง ลางทีเรียกว่า  “กะตึบ” -สงวน  รอดบุญ.  (๒๕๔๕).  พุทธศิลปลาว (พิมพ์ครั้ง
                   ที่ ๒).  กรุงเทพฯ : สายธาร.  หน้า ๑๓๐.
                   ๒๐๐
                       ภูก าพร้า-ผู้ปริวรรต
                   ๒๐๑
                       ปรากฏ-ผู้ปริวรรต
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66