Page 88 - ebook.msu.ac.th
P. 88
73
2. การวางตัวสะกดตามต้นฉบับจะเขียนไว้ล่างสระ บางค าวางไว้ข้างบน แต่การปริวรรตจะ
วางไว้ข้างพยัญชนะ ตามระบบการเขียนภาษาไทยปัจจุบัน
3. ในกรณีที่ผู้ปริวรรตไม่ทราบว่า ค านั้นเขียนอย่างไร หรือมีความ หมายอย่างไร จะ
ื
วงเล็บค าที่คาดว่า น่าจะเขียนอย่างนั้นไว้ โดยเฉพาะชื่อ พช สัตว์ หรือวัตถุ ที่เป็นภาษาท้องถิ่นโบราณ
่
ซึ่งผู้ปริวรรตไม่ทราบ หรือไม่เคยได้ยินมากอน เพอสอบทานกับผู้รู้ในตอนหลัง และบางค าได้รักษาศัพท์
ื่
เดิมและวงเล็บค าภาษาไทยไว้
4. เพื่อให้ผู้สนใจได้เห็นต้นฉบับใบลาน ได้ส าเนาต้นฉบับใบลานวางไว้ด้านซ้ายและข้อความ
ที่ปริวรรตไว้ด้านขวา
่
5. เมื่อปริวรรตแล้วได้ท าดัชนีเพื่อสะดวกต่อการสืบค้นได้แก ดัชนีชื่อยา อาการ และโรค
ดัชนีพืช สัตว์ แร่ธาตุ สมุนไพรต่อจากการปริวรรตในแต่ละผูก
6. ส่วนท้ายของต ารายา ได้น าข้อความที่ปริวรรตแล้วไปจัดรูปแบบใหม่ โดยเรียงยาต ารับ
ต่างๆให้อานง่าย ประกอบด้วยชื่อโรคหรือชื่อต ารับ การวินิจฉัยอาการ บอกตัวยา สัดส่วนของตัวยาที่ใช้
่
รักษา การปรุงยาและวิธีการรักษา โดยเรียงตามเนื้อหาที่ปรากฏตามต้นฉบับ
สุวิทย์ จิตรพลี (2524 : 10-11) กล่าวถึงขอตกลงการปริวรรตว่า ในการประชุมที่วิทยาลัยครู
้
มหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เพอท าความเข้าใจและตกลงหาแนวทางในการปริวรรตหนังสือผูกใบลาน
ื่
และหนังสืออื่นๆ ที่บันทึกเรื่องราวต่างๆ ด้วยตัวอักษรและภาษาท้องถิ่นอีสาน พิฑูรย์ มลิวัลย์ ได้เสนอข้อ
ข้อคิดเห็นเรื่องการปริวรรตนี้ต่อที่ประชุมเป็น 2 ประเด็น ซึ่งเป็นที่ยอมรับของผู้เข้าร่วมประชุม อาทิ
พระอริยานุวัตร เขมจารีเถระ ดังนี้
ถ้าปริวรรตเพื่อการวิจัย เป็นการปริวรรตเพื่อใช้ประโยชน์ในวงแคบ ใช้ได้เฉพาะกลุ่มนักศกษา
ึ
และนักวิจัย ให้เขียนตามตัวอักษรที่ปรากฏในต้นฉบับทุกประการ เพราะเป็นการเขียนตามการออกเสียง และ
ไม่มีวรรณยุกต์ก ากับ เช่น ต้นฉบับเขียน ขาเสิก ก็คงเป็น ขาเสิก ไม่แก้เป็น ข้าเสิก หรือ ข้าสึก หรือ ก าเวน ก็
ื่
คงเขียนตามเดิม ไม่แก้เป็น กรรมเวร เป็นต้น ทั้งนี้เพอให้เห็นลักษณะอกขรวิธีที่แท้จริงของอีสานสมัยก่อน ผู้ที่
ั
เป็นชาวอีสานหรือผู้เข้าใจภาษาอีสานดีพอจะอ่านออกเสียงค าต่างๆ ได้ถูกต้อง พร้อมทั้งเขาใจความหมายของ
ถ้อยค าและข้อความด้วย
ถ้าปริวรรตเพื่อการเผยแพร่ ถือว่าเป็นการปริวรรตเพื่อใช้ในวงกว้าง เพื่อให้อ่านและเป็นที่
ทราบกันโดยทั่วไป หลักการนี้ให้ใช้อักขระวิธีและการออกเสียงเดิมตามแบบ พจนานุกรมภาคอีสาน – ภาค
์
ู
กลาง คือพยายามเขียนตามมลศัพท เช่น ค าบาลี สันสกฤต ก็เขียนให้ถูกต้องตามมูลศัพท์นั้นๆ เช่น ก าเวน
ปริวรรตเป็น กรรมเวร สาสนา ปริวรรตเป็น ศาสนา เป็นต้น ส่วนค าใดตรงกับอักขระวิธีไทยปัจจุบันอยู่แล้วก็
เขียนตามอักขระวิธีไทยปัจจุบัน เช่น ซื่อ เขียนเป็น ชื่อ ไม่เขียนเป็น ซื่อ ซึ่งเขียนตามการออกเสียงถิ่นอีสาน
หรือ ช้าง ม้า ไม่เขียนเป็น ช่าง ม่า เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อป้องกันความสับสน ส่วนวรรณยุกต์ให้ใช้ตามหลักไตรยางศ์
ขั้นตอนการปริวรรตในแบบเรียนเล่มนี้ มี 3 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ 1) การคัดเลือกและเตรียมเอกสาร
โบราณ 2) การปริวรรต และ 3)การวิเคราะห จ าแนกข้อมูล ดังรายละเอียดดังนี้
์
1) การคัดเลือกและเตรียมเอกสารโบราณ เอกสารใบลานที่จะน ามาท าการปริวรรต-ถ่าย
ถอด แบ่งได้เป็นสองส่วนใหญ่ ๆ คือ เอกสารใบลานที่สมบูรณ์ซึ่งสามารถน ามาท าการปริวรรตได้ทันที กับ
เอกสารใบลานที่ช ารุดในบางส่วน แต่เนื้อหาภายในยังคงครบถ้วนและจ านวนหน้าของเอกสารใบลานยัง
ครบถ้วน