Page 91 - ebook.msu.ac.th
P. 91

76


                              2) การปริวรรต  ในแบบเรียนนี้จะเน้นปฏิบัติการปริวรรตเป็น 3 ส่วน คือ
                                     ก) คัดลอกตัวอักษร โดยการเขียนด้วยลายมือ ขั้นตอนปฏิบัติการนี้เพื่อให้ผู้เรียน

                                ั
                                       ั
               ฝึกฝนและจดจ าตัวอกษรค าศพท์เป็นส าคัญ สังเกตและเปรียบเทียบลายมือของผู้จาร
                                     ข) ค าถ่ายถอด หมายถึงการการเปลี่ยนตัวโบราณด้วยอักษรไทยแต่ให้คงสัญลักษณ์
               รูปอักขรวิธีที่ปราฏ เช่น ไม้ซัด ไม้ข่ม นิคหิต จุด (พินทุ-ในกรณีที่มีตัวสะกด หรือตัวเฟองอยู่ด้านล่าง)  หรือ
                                                                                      ื้
               สัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ปราฏในข้อความ  เพื่อการตรวจสอบความถูกต้องของการสะกดค าศัพท์ในกรณีที่สันนิษฐาน

               ศัพท์ไม่ได้  ในการถ่ายถอด ต้องถือส านวนที่ ว่า “หนังสือ หนังหา” เพราะเอกสารโบราณมีความไม่สมบูรณ์
               ทางอกขรวิธี มีความไม่แน่นอนไม่เป็นไปตามอักขรวิธี หลายครั้งเขียนตามเสียงอ่าน ซึ่งไม่ตรงกับรูปปัจจุบัน ถ้า
                    ั
               ผู้จารจารตกให้ผู้อ่านสันนิษฐานศัพท์เพิ่มเติมให้ครบถ้วนสมบูรณ์  หรือใกล้เคียงความหมายให้ได้มากที่สุด หรือ
               ถ้าผู้จาร จารเกินมา ก็ให้ผู้อ่านละ(ปล่อยวาง)ไว้ เพอให้เกิดความสมบูรณ์ของประโยคในต ารายานั้นๆ เช่นกัน
                                                         ื่
               และต้องเข้าใจ การใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในการถ่ายถอด ดัง “เคล็ดควรจ าค าถ่ายถอด”  ใต้ตาราง “ค าศัพท์ที่
               ปรากฏ” เพอให้ผู้เรียนได้เปรียบเทียบสังเกตอักรวิธีในภาคปฏิบัติการปริวรรต เพื่อเป็นหลักในการน าไปใช้
                         ื่
               ต่อไป
                                                                              ื่
                                     ค) ค าอ่านปัจจุบัน ให้เขียนตามค าศัพท์ปัจจุบันเพอให้คนปัจจุบันอ่านเข้าใจ  (หาก
               ผู้เรียนมีความช านาญในการปริวรรตแล้ว สามารถข้ามขั้นตอน ก และ ข สู่ขั้นตอน ค ได้)
                                     การน าเสนอรูปใบลานแต่ละแผ่นนั้นจะระบุข้อมูลหน้าลานด้านล่างของภาพใบลานที่
               น ามาปริวรรต เช่น ลานที่ 1 หน้าที่ 1, ลานที่ 1 หน้าที่ 2 เป็นต้น  ในการปริวรรตแต่ละ บรรทัด นั้นจะใช้ตัว

               ย่อว่า บ. เช่น บ.1, บ.2, บ.3, บ.4 เป็นต้น และชื่อสารบัญต ารับยาในส่วนต้นแต่ละหน้าลานนั้นจะระบุไว้ท้าย
               หัวข้อ ก) คัดลอกตัวอักษร, ข) ค าถ่ายถอด และ ค) ค าอ่านปัจจุบัน ดังตัวอย่างในหัวข้อ 8.2 การปริวรรตใบ
               ลานต ารายาอักษรธรรมล้านช้าง 8.4 การปริวรรตใบลานต ารายาอักษรไทยน้อย และ 8.6 การปริวรรตใบลาน
               ต ารายาอักษรไทยโบราณ โดยในแต่ละชุดการปริวรรตจะน าเสนอ “ตารางค าศัพท์ทปรากฏ” ไว้เพอให้ผู้เรียน
                                                                                    ี่
                                                                                                ื่
                                                                      ี
               ได้ใช้เปรียบเทียบอักขรวิธี หนุนเสริมในการจดจ าตัวอักษรโบราณอกวิธีหนึ่ง
                                            ์
                              3) การวิเคราะห จ าแนกข้อมูล ซึ่งหลังจากนั้นน าค าอ่านปัจจุบันที่ได้จากการปริวรรต ไปใช้
                          ื่
               เป็นข้อมูลเพอท าการวิเคราะห์ จ าแนก ชื่อยา/ตัวยา/โรค ที่ปรากฏในเอกสารนั้น ๆ ในรูปแบบตาราง หรือ
               เพื่อให้ง่ายต่อการจัดแบบอนุกรมต ารับยา ก-ฮ ต่อไป ดังตัวอย่างในหัวข้อ 8.3 การวิเคราะห์ต ารายาอักษร

               ธรรม จ าแนก ชื่อยา/ตัวยา/โรค ที่ปรากฏ 8.5 การวิเคราะห์ต ารายาอักษรไทยน้อย จ าแนก ชื่อยา/ตัวยา/โรค
               ที่ปรากฏ 8.7 การวิเคราะห์ต ารายาอักษรไทยโบราณ จ าแนก ชื่อยา/ตัวยา/โรค ที่ปรากฏ และ 7. ตาราง
               อนุกรมศัพท์สมุนไพรที่ปรากฏในเอกสารโบราณต่อไป
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96