Page 89 - ebook.msu.ac.th
P. 89
74
ก. เอกสารใบลานที่ช ารุด ในกรณีที่จ าเป็นต้องมีการปริวรรตเอกสารใบลานที่ช ารุด
้
ี
เช่น เป็นเอกสารที่ยังไม่มการถ่ายถอด หรือมการถ่ายถอด แต่ต้องการขอมูลเพิ่มเติมจากที่มีอยู่เดิม จึงพิจารณา
ี
เลือกเอกสารที่ช ารุดบางส่วนเพื่อการถ่ายถอดเนื้อหา การพิจารณาเลือกเอกสารใบลานเพื่อน ามาบูรณะและ
ปริวรรต มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ขาดสูญหายเฉพาะใบหลบหน้าหรือใบหลบหลัง (ใบปกหน้าและปกหลังบอกชื่อ
เรื่อง) เอกสารใบลานซึ่งไม่เต็มผูก แต่ส่วนที่คงเหลือยังคงมีเนื้อหาต่อเนื่องไปจนตลอดเอกสารใบลานซึ่งช ารุด
ั
หรือขาดหายไปเฉพาะบางหน้าลาน แต่เนื้อหายังคงต่อเนื่องไปจนตลอด ตรวจสอบเลขหน้า(เลของกา)เพอ
ื่
ความสมบูรณ์ของเอกสาร การจะตรวจสอบเอกสารใบลานว่าสมบูรณ์ครบถ้วนในผูก/เล่มหรือไม่ ดูได้จากการ
ระบุเลขบอกหน้าใบลาน(เลขอังกา)ซึ่งโดยปกติจะระบุไว้ที่ส่วนต้นทางด้านซ้ายในหน้าที่สองของใบลาน
เอกสารใบลานซึ่งปรากฏว่าไม่ครบถ้วนสมบูรณ์แต่ยังคงน ามาปริวรรตถ่ายถอดได้ที่เห็นได้ชัดเจนคือ ใบลานสั้น
ซึ่งใช้บันทึกต ารายา เพราะต ารายาจะบันทึกขนานยาและการรักษาไว้ค่อนข้างเป็นเอกเทศ การช ารุดหรือสูญ
หายของใบลานบางหน้าจึงท าให้สูญเสียเฉพาะอาการของโรค หรือขนานยาในบางขนานเท่านั้น ไม่มีผล
เกี่ยวเนื่องกับหน้าลานที่คงเหลือทั้งหมด
ข. เอกสารใบลานที่ครบถ้วนสมบูรณ์ องค์ประกอบของเอกสารใบลานที่สมบูรณ์
ประกอบไปด้วย ใบหลบหน้า ใบหลบหน้าออน ซึ่งจะระบุชื่อเรื่อง มีหน้าลานครบถ้วนโดยสามารถ
่
ตรวจสอบได้จากการนับเลขหน้า(เลขอังกา) มีหลายแบบ เช่น แบบตัวอักษรมักเรียงที่ ก กา กิ กี กุ กู เก ไก โก
เกา ก กะ หรือ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐...มักจารไว้หน้าหลังของใบลาน ดังภาพ
ตัวอย่างองกาที่ใช้ตัวเลข
ั
ตัวอย่างองกาที่ใช้ตัวอักษร
ั
ตัวอย่างองกาที่ใช้ตัวเลข และ อังกาที่ใช้ตัวอักษร (สมัย วรรณอุดร 2557 : 12)
ั