Page 34 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 34

6) การเปดเผยขอมูลและการมีสวนรวมของประชาชน โดยใหประชาชนมีชองทางที่หลากหลาย
                             และมีประสิทธิภาพในการเขาถึงขอมูลและตรวจสอบประสิทธิภาพในการทำงานของภาครัฐ รวมถึงรวมตัดสินใจ
                             ในกิจการตางๆ เพื่อสรางความโปรงใส และการสรางสภาพแวดลอม (Ecosystem) ใหมที่ภาครัฐ ภาคธุรกิจ
                             และภาคประชาชนสามารถรวมมือกันไดและมีการรับฟงความเห็นจากประชาชน เพื่อสรางและพัฒนา

                             นวัตกรรมบริการที่ดีขึ้นรวมกับภาคประชาชน (Co-creating) ตัวอยางการพัฒนาที่สำคัญ ไดแก ระบบ
                             e-People ของสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเปนระบบจัดการเรื่องรองเรียนของประชาชนตอหนวยงานรัฐ ที่มี
                             การจัดหมวดหมูอัตโนมัติทำใหขอรองเรียนถูกสงตอไปยังหนวยงานที่เหมาะสม และสามารถจัดการขอรองเรียน
                             ไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเปนชองทางรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากประชาชนเกี่ยวกับ

                             การบริหารจัดการและการกำหนดนโยบายของภาครัฐ


                             ในกรณีของประเทศไทย ไดมีการพัฒนาชองทางใหประชาชนเขาถึงขอมูลภาครัฐ และเริ่มมีการพัฒนาชองทาง
                             ใหประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นในดานกฎหมาย ไดแก ระบบกลางดานกฎหมาย (Law

                             Portal)  ที่รวบรวมขอมูลทางดานกฎหมายของประเทศ และเปนชองทางสำหรับรับฟงความคิดเห็นจาก
                             ประชาชนและภาคสวนตางๆ อยางไรก็ตาม การเขาถึงขอมูลสำหรับแสดงความคิดเห็นและตรวจสอบ
                             ประสิทธิภาพในการทำงานของภาครัฐ เชน กระบวนการจัดทำงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจางยังมีจำกัด
                             ดังนั้น เพื่อสรางความเชื่อมั่นในรัฐบาลผานธรรมาภิบาลขอมูลและการมีสวนรวมของประชาชน จึงจำเปน

                             อยางยิ่งที่ตองสงเสริมใหมีการเปดเผยขอมูลภาครัฐและสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
                             และตรวจสอบการดำเนินงานภาครัฐในขอบเขตที่กวางขึ้น





                             7) การเสริมสรางความแข็งแรงดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร และการเตรียมความพรอม
                                                                                       
                             ภาครัฐและภาคเอกชนในการรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร โดยการปรับปรุงมาตรฐานดานความปลอดภัย
                             ใหทันสมัย การพัฒนาขีดความสามารถของภาครัฐ การสรางความตระหนักในหมูประชาชนทั่วไป และ
                             การตรวจสอบความตองการดานความปลอดภัยแตแรกเริ่ม รวมทั้งกระตุนการพัฒนานวัตกรรมดาน

                             การบริหารจัดการภาครัฐผานสื่ออิเล็กทรอนิกส และดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร โดยใหภาค
                             เอกชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาผลผลิตและการสนับสนุนดานการวิจัยและพัฒนาที่เพิ่มขึ้น ตัวอยาง
                             แนวทางการพัฒนาที่สำคัญของประเทศผูนำดานความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอรอยางเอสโตเนียให
                             ความสำคัญกับการรักษาความปลอดภัยโดยการออกแบบ (Secure by Design) เชน การออกแบบ

                             สถาปตยกรรม X-Road บนแนวคิดระบบกระจายศูนย (Decentralization) เพื่อกระจายความเสี่ยงจาก
                             ภัยคุกคามไซเบอร ควบคูไปกับการสรางความตระหนักใหแกผูใชงานและการบังคับใชกฎระเบียบดาน
                             ความมั่นคงปลอดภัยอยางเครงครัดภายใตการกำกับดูแลของหนวยงาน Information System Authority
                             (RIA) เปนตน



                             ในกรณีของประเทศไทย ภัยคุกคามไซเบอรรูปแบบตางๆ มีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงรูปแบบอยางตอเนื่อง
                             หนวยงานภาครัฐจึงตองเตรียมความพรอมในการรับมือ เพื่อลดความเสี่ยงจากการถูกโจมตี และ
                             ลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น โดยการสรางแพลตฟอรมใหบริการภาครัฐที่มีความมั่นคงปลอดภัย มีกลไก

                             ปกปองและคุมครองขอมูล รวมถึงเสริมสรางขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐในการรักษาความมั่นคง
                             ปลอดภัยของระบบ

                 33
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39