Page 176 - ebook.msu.ac.th
P. 176

176             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




                       ผู้บ่มักเคียด (โกรธ) เทียรย่อมแพ้ผู้เคียด
                       ผู้เป็นสัปปุริสสะ  ย่อมแพ้ผู้เป็นอะสัปปุริสสะ
                                              ๗๒๔
                       ผู้มักให้ทาน  ย่อมแพ้ผู้ ถินถี่  บ่ให้ทาน
                       ผู้มีสัจจะ  ย่อมแพ้ผู้บ่มีสัจจะแล


                       โปฏะฐะ เกสุคะตา วิชชะ ปะระหัตเถ คะตัง ธะนัง ยะทา (ถา) อิจเส
                                                               ๗๒๕
               (เจ) (นะ) นัพภะติ (ลัพพะติ) นะสา วิชชะ นะ ตัง ธะนัง
                                        ๗๒๖
                       อทิบายว่า  สาตรสิน  อันเขียนไว้ในพับ ในใบ ๔/๒๐/๒ (เน) ลาน บ่
               ขึ้นใจไว้แล (ดัง) ข้าวของตนอันอยู่ในมือท่าน  คือว่าท่านผู้อื่น หาก (เฮาต้อง)
               กู้อยืมเอาดังนั้น ปุคละผู้มีประโยชนะ  จักสายทิยายแล จักซื้อขายเมื่อใด
               ก็บ่ได้ตามใจมักแห่งตน สาตรสินแลข้าวของฝูงนั้น  ก็บ่ได้ชื่อว่าเป็นของตนแล


                       พระยาจันทบุรีฮมเพิงเถิงธัมมบด (ธรรมบท) คาถาทั้งหลายฝูงนี้
               ในใจแล้ว  ก็ให้แต่งราชปราสาทอันพิจิด ริจจนาแล้วด้วยแก้ว  ตั้งเทิง
               เฮือเหล้มยาว ได้ซาวเอ็ดวา พอกค าตีแผ่นนากโดยโคบแคม (แกม?) หัวราชสี

               แล้วจีงสระเด็ดจจขึ้นสู่ปราสาท  ไปกับด้วยประริวานอันมาด้วยล าดับ






               ๗๒๔
                   หมายถึง ถนี่, ตระหนี่
               ๗๒๕
                    ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ กล่าวค าบาลีแตกต่าง ว่า “น ต  สิปป  น ต  ธน ”
               ๗๒๖
                   ศิลปศาสตร์ ๑๘ ประการ (ในธรรมนีติแผนกสิปปกถา) ว่า  ๑) สูติ ความรู้รอบตัว,  ๒) สมฺมติ
               การเข้าใจระเบียบ,  ๓) สงฺขยา การค านวณ,  ๔) โยคยนฺตร ศึกษา,  ๕) นีติ นิติศาสตร์,  ๖) วิเสสิกา
               พานิชยศาสตร์,  ๗) คนฺธพฺพา วิชาระบ าและดนตรี,  ๘) คณิกา วิชาการออกก าลังกาย,  ๙) ธนุพฺ-
               เพธา วิชายิงธนู,  ๑๐) ปูราณา โบราณคดี,  ๑๑) ติกิจฺฉา วิชาแพทย์,  ๑๒) อิติหาสา กาพย์ต านาน
               ของอินเดีย,  ๑๓) โชติ วิชาดาราศาสตร์,  ๑๔) มายา พิชัยสงคราม,  ๑๕) เหตุ เหตุศาสตร์ รู้เหตุผล
               (บางแห่งเป็น ฉนฺทสิ = การประพันธ์),  ๑๖) เกตุ วิชาพูด,  ๑๗) มนฺตา วิชามนต์ (บ้างว่า วิชาเสก-
               เป่า),  ๑๘) สทฺทา ไวยากรณ์,  -ประภาส สุรเสน.  (๒๕๔๐).  พระคัมภีร์อนาคตวงศ์.  กรุงเทพฯ :

               หจก. โรงพิมพ์สุรวัฒน์. หน้า ๑๘๕-๑๘๖.
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181