Page 31 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 31

03        สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล








                       3.1 สถานการณการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ

                       การศึกษาแนวโนมสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล การศึกษาบทเรียนจากความสำเร็จและอุปสรรคของ

              การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในตางประเทศ เพื่อนำวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice) มาระบุปจจัยการสงเสริมสภาพแวดลอม
              การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในประเทศไทย และเปนแนวทางในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของไทยที่เหมาะสมตอไป
              โดยไดทำการศึกษาวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบแผน นโยบาย และแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศชั้นนำ
                         1
                                        2
              เชน เอสโตเนีย สหราชอาณาจักร  สิงคโปร  เปนตน ซึ่งสามารถสรุปการพัฒนาที่สำคัญไดดังตอไปนี้
                                                3

                       1) การพัฒนาบริการหรือแพลตฟอรมดิจิทัลภาครัฐที่ยึดหลักประชาชนเปนศูนยกลาง
                       (Citizen Centric) โดยประชาชนสามารถเขาถึงบริการตางๆ ไดอยางครบถวน ณ จุดเดียว (One-Stop Service)
                       หรือไดรับการเสนอบริการจากภาครัฐโดยอัตโนมัติ โดยเปนกระบวนการที่ครบถวนตั้งแตตนจนจบ (End - to -

                       End Process) ทั้งนี้ การใหบริการดิจิทัลภาครัฐจะตองงาย สะดวก รวดเร็ว มีคุณภาพสูง มีความนาเชื่อถือ
                       ยืดหยุน และมีความมั่นคงปลอดภัยจากการคุุกคามทางไซเบอร ตัวอยางการพัฒนาที่สำคัญ ไดแก
                       แพลตฟอรม LifeSG ของสิงคโปร ซึ่งรวบรวมบริการตางๆ ของหนวยงานทั่วทั้งรัฐบาลมาไวในที่เดียว โดยจัด
                       กลุมบริการ ตามความตองการในแตละชวงชีวิต มีระบบแนะนำเนื้อหาและบริการตามโปรไฟลและลักษณะ

                       ของผูใช เชน ขอมูลประจำตัวที่อยูอาศัย และรายละเอียดการศึกษา บนแดชบอรดสวนบุคคล (Personalized
                       Dashboard) เปนตน



                       ในกรณีของประเทศไทย การใหบริการของภาครัฐแกประชาชนสวนใหญยังเปนเพียงการพัฒนาบริการ
                       ออนไลนผานชองทางตางๆ เชน เว็บไซต หรือแอปพลิเคชันของหนวยงานเจาของบริการ แตขาดการบูรณาการ
                       รวมกันผานการพัฒนาแพลตฟอรมกลางที่ใหบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว และเปนกระบวนการตั้งแต

                       ตนจนจบ ทั้งนี้ ไดมีความพยายามในการพัฒนาแพลตฟอรมกลางที่เชื่อมตองานบริการภาครัฐออนไลนไว
                       ที่เดียว เชน ระบบพอรทัลกลางเพื่อประชาชน (Citizen Portal) และระบบศูนยกลางบริการภาครัฐเพื่อ
                       ภาคธุรกิจ (Biz Portal) หากแตยังจำเปนตองมีการพัฒนาตอยอดอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถใหบริการ
                       ที่ครบจบดวยระบบดิจิทัล ดังนั้น เพื่อใหภาครัฐสามารถมอบบริการที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดงาย สะดวก

                       รวดเร็ว ณ จุดเดียว จึงจำเปนอยางยิ่งที่ตองสงเสริมใหมีการพัฒนาบริการออนไลนและสรางแพลตฟอรม
                       ดิจิทัลกลาง สำหรับการเชื่อมโยงบริการดิจิทัลภาครัฐตางๆ ใหตรงกับความตองการของผูใชอยางครบวงจร





               1
               Enterprise Estonia (2020). E-estonia Guide. Available from: https://e-estonia.com/wp-content/uploads/eestonia-guide-2018.pdf และ
               Ministry of Economic Affairs and Communications of Estonia (2018). Digital Agenda 2020 for Estonia. Available from: https://wp.itl.ee/
               files/DigitalAgenda2020_Estonia_ENG.pdf
               2
               Government Digital Service (2021). Government Digital Service: Our strategy for 2021-2024. Available from: https://gds.blog.gov.uk/
               2021/05/20/government-digital-service-our-strategy-for-2021-2024/
               3
               Government Technology Agency (2020). Digital Government Blueprint. Available from: https://www.tech.gov.sg/digital-government-blueprint/
                                                                                                    30
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36