Page 32 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 32

2) การเชื่อมโยงและการบูรณาการขอมูลระหวางภาครัฐ อาทิ การสำรวจและพัฒนาระบบตัวกลาง

                             ที่ทำใหหนวยงานภาครัฐสามารถแบงปนขอมูลพื้นฐานที่เปนประโยชนใหหนวยงานอื่น การสรางสถาปตยกรรม
                             ขอมูลกลางเพื่อใหหนวยงานตางๆ ใชอางอิงเปนแนวทางในการจัดเก็บขอมูล เปนตน นอกจากนี้ การจัดทำ
                             ขอมูลดิจิทัลจากการรวบรวมและปรับเปลี่ยนขอมูลใหอยูในรูปแบบดิจิทัล โดยการสรางเครื่องมือใหกับ

                             หนวยงานภาครัฐเพื่ออำนวยความสะดวกในการปรับปรุงบริการสูระบบดิจิทัล เชน การแปลงแบบฟอรมที่มี
                             อยูในปจจุบันใหเปนดิจิทัลโดยอัตโนมัติ และการสรางแบบฟอรมดิจิทัลเพื่อใหสามารถนำขอมูลไปใช
                             ตอยอดใหเกิดประโยชน และพัฒนาบริการประชาชนและภาคธุรกิจได ตัวอยางการพัฒนาที่สำคัญ ไดแก
                             Digital X-Road ของเอสโตเนีย ซึ่งเปนโครงขายกลางที่ทำหนาที่เปนถนนในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน
                             ฐานขอมูลสำหรับการใหบริการ อาทิ ฐานขอมูลการทะเบียนประชากร การทะเบียนประกันสุขภาพ

                             การจดทะเบียนธุรกิจ ฯลฯ ที่มีระบบมาตรการรักษาความปลอดภัยของขอมูลเพื่อปกปองความเปนสวนตัว
                             ของขอมูลประชาชน



                             ในกรณีของประเทศไทย หนวยงานภาครัฐไดมีความพยายามที่จะพัฒนาฐานขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลระหวาง
                             หนวยงาน เพื่อใหสามารถแบงปนขอมูลและบริการรวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐไดอยางมีประสิทธิภาพ
                             ผานการใชเทคโนโลยี เชน API เปนตน อยางไรก็ตาม การดำเนินการดังกลาวตองใชเวลานานหลายป เพราะ
                             การเก็บขอมูลของแตละหนวยงานอยูในรูปแบบตางกัน กฎระเบียบที่จำกัดการแบงปนขอมูลของหนวยงาน
                             ขอจำกัดดานกฎหมายในการแบงปนขอมูลสวนบุคคล รวมถึงการขาดแนวทางการบูรณาการที่เปนมาตรฐาน

                             กลางที่มีการบังคับใชอยางเครงครัด และการขาดงบประมาณในการดำเนินการ ดังนั้น เพื่อใหการเชื่อมโยง
                             และการบูรณาการขอมูลระหวางภาครัฐเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงจำเปนอยางยิ่งที่ตองสงเสริมใหมี
                             การบูรณาการขอมูลระหวางภาครัฐอยางตอเนื่อง





                             3) การพัฒนาระบบยืนยันตัวตนกลาง (Digital ID) สำหรับการลงชื่อเขาใชและยืนยันตัวตนเพื่อ
                             รับบริการจากภาครัฐที่มีความงายและสะดวกสบายสำหรับผูใชงานมากยิ่งขึ้น และทำใหขอมูลของผูใชงานที่ใหไว 
                             ที่หนวยงานหนึ่งสามารถตอยอดไปใชในการขอรับบริการของหนวยงานอื่นๆ ได เปนการอำนวยความสะดวก

                             แกประชาชนและผูประกอบการในการดำเนินการดานธุรกรรม ตัวอยางการพัฒนาที่สำคัญ ไดแก Singapore
                             Personal Access หรือ Singpass ซึ่งเปนบริการเขาสูระบบกลางของรัฐบาลสิงคโปรที่รวบรวมบริการ
                             ออนไลนภาครัฐ สวนใหญเขาไวดวยกันและเขาถึงไดผานการเขาระบบเดียว และในปจจุบัน ประชาชนยัง

                             สามารถใชบัตรประชาชนจากหนาจอแอปพลิเคชัน SingPass แทนบัตรประชาชนตัวจริงในการเขารับ
                             บริการจากภาครัฐไดอีกดวย


                             ในกรณีของประเทศไทย ไดมีการวางโครงสรางพื้นฐานสำคัญในเรื่อง National Digital ID Platform
                             เชน การจัดทำหลักเกณฑและมาตรฐานตาง ๆ รวมถึงมีการนำระบบ Digital ID ไปใชกับการใหบริการของ

                             หนวยงานภาครัฐบางสวน อยางไรก็ตาม ผูใชงานยังคงประสบปญหาในการใชงานจริง เชน การเรียกขอสำเนา
                             เอกสารยืนยันตัวตน โดยหนวยงานภาครัฐ รวมถึงประชาชนบางสวนยังไมมีอุปกรณที่รองรับการลงทะเบียน
                             ผานระบบดิจิทัล ดังนั้นภาครัฐจึงตองดำเนินการตอเนื่องเพื่อใหประชาชนมีบัญชีผูใชงาน Digital ID

                             ที่มีความนาเชื่อถือสูงไดโดยสะดวก และสงเสริมการใชระบบ Digital ID ในการใหบริการของหนวยงานภาครัฐ



                 31
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37