Page 166 - Microsoft Word - ปก.doc
P. 166

บทที่ 6 แอลกอฮอล อเี ทอร ฟนอล และ อนุพนั ธุ 158

                                              OH                   OCH3

       CH3CHCH2CH2CH3                         OCH3           H3CO  OCH3

            OCH3              trans-2-methoxy                1,3,5-trimethoxybenzene
                               cyclohexanol
2-methoxypentane

      6.5.2 คุณสมบัตทิ างกายภาพของอเี ทอร เนอื่ งจากโมเลกุลของอีเทอรมคี า ไดโพ
โมเมนตสทุ ธไิ มม ากนกั ดังนนั้ จงึ ทาํ ใหโ มเลกุลของอเี ทอรเปน โมเลกลุ ท่ีไมม ีขว้ั อเี ทอรจ ึงมจี ดุ เดือด
พอๆกันกับอลั เคนทม่ี นี าํ้ หนกั โมเลกลุ เทา ๆกนั

      อเี ทอรเ ปน สารท่ีเฉือ่ ยตอการเขาทําปฏิกิรยิ า ดงั นนั้ จงึ มกั นิยมใชเปน ตวั ทาํ ละลาย เชน
เอธลิ อเี ทอร (ethyl ether)

      6.5.3 คุณสมบัติทางเคมีของอีเทอร เนื่องจากอีเทอรเปนสารประกอบที่ไมคอยวองไว
ตอปฏิกิริยา และจะทนตอเบส สารออกซิไดซ และสารรีดิวซ ปฏิกิริยาของอีเทอรจึงมีไมมากนัก
อยางไรก็ตาม อีเทอรสามารถเกิดปฏิกิริยากับกรดไฮโดรเฮลิก (HX) เขมขน ซ่ึงจะเกิดการแตกหัก
ของอีเทอร เมื่อทําปฏิกิริยาอีเทอรดวยกรดจะเกิดการเกาะของโปรตอนที่ออกซิเจน เกิดเปนอิน
เทอรม เิ ดยี ตทีร่ ยี กวา “ ออกโซเนยี มไอออน (oxoniumion)” ดงั สมการ

                              H                H
                                           ROR
                       ROR
                                       ออกโซเนยี มไอออน

      ถา R หรือ R’ เปน 1๐ หรอื 2๐ คารบ อน พนั ธะระหวาง R หรอื R’ กบั ออกซเิ จนจะแตกออก
ไดเ มือ่ ทํ าปฏกิ ริ ิยากบั นวิ คลีโอไฟลที่แรง (strong nucleophile) เชน I- หรอื Br- และมกี ลไกการ
เกิดปฏิกริ ยิ าเปน แบบ SN2 เชน

H3CH2C O CH CH3        +  HI     heat               CH3CH2I        + HO CH CH3
                  CH3                                                            CH3

กลไกของปฏิกริ ิยาแบบ SN2
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171