Page 95 - ebook.msu.ac.th
P. 95

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  95




                                                                  ๓๙๐
                                                      ๓๘๙
                          ยามนั้นมหากัสสัปปะเถรเจ้าแกวด  กดหมาย  ฮู้ด้วยปะริสัญจิต-
                                                                        ๓๙๒
                                                             ๓๙๑
                   ตะญาณในใจแห่งพระยาทั้ง ๒ เจ้าบ่ให้จิดกระด้าง   หดหย้อ   จีงให้มีใจ
                                                                                 ๓๙๔
                                                                    ๓๙๓
                   ชื่นบานงามดี จีงให้ท้าวพระยาทั้ง ๕ เข้าสังสันทนาจากัน  ในท่้ากลาง
                   อรหันตเจ้าทั้งหลายแล
                          มหากัสสัปปะเจ้ากล่าวปัณหาพระยาธัมมว่า

                                              ๓๙๖
                                     ๓๙๕
                                 เขือ  ไป ขา  มา ขาไป ๒/๑๕/๑ เขือมา ดังนี้

                          จีงขอดเป็นคาถาพระยาธัมมไว้กับปัณหาเพื่อเล้าโลมพระยาทั้ง ๕ ว่า


                          คัจสันติ นะระคัจสันติ โกเว นะระโกเว เยยา (เญยยา) นะระเยยา
                   (นะระเญยยา) สากันติ นะรัสสากันติ โจรัง นะระโจรัง เถโน นะระเถโน
                   นะรา นุเร นุเร

                                                                       ๓๙๗
                          มหากัสสัปปะเจ้าให้พระยาทั้ง ๕ ถัดเข้าใก้กันจน สว่าง  ค าเคียดแล
                   จาถ้อยค าซึ่งกันแลกันไปมา   เจ้าหลิงเห็นอันพระยาสุวัณณภิงคละ



                   ๓๘๙
                       หมายถึง รับรู้
                   ๓๙๐
                       กฎหมาย-ผู้ปริวรรต
                   ๓๙๑
                       จิตกระด้าง-ผู้ปริวรรต
                   ๓๙๒
                       เล็กลง-ผู้ปริวรรต
                   ๓๙๓
                       สังสันทนาพูดจากัน-ผู้ปริวรรต
                   ๓๙๔
                       ท่ามกลาง-ผู้ปริวรรต
                   ๓๙๕
                       หมายถึง บุคคลที่เราพูดด้วย
                   ๓๙๖
                       หมายถึง เขา สรรพนามบุรุษที่ ๓
                   ๓๙๗
                       ส่วง หมายถึง คลาย
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100