Page 94 - ebook.msu.ac.th
P. 94

94            ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




                       ยามนั้นพระยาค าแดงก่ออูปมุงใส่ฮูป ๒/๑๔/๑ พระพรหม ๔ หน้าแล้ว
                                                         ๓๘๐
               ที่ปักตูหลวงบ่อนนึง บ่อนปักตูนบ (น้อย) บ่อนนึง   ที่อันก่อไก (ไกล) กันบ่
               ปรากดนั้นก็มี  พระยา (ค าแดง) ฮู้ข่าวว่าอรหันตาเจ้าทั้งหลายบ่ให้อุรังคธาสไป่
               ให้ถะปันนาจีงเอาธาตุหนีไปไว้ภูก าพ้าว่าดังนั้นพระยาจีงเอาข้าวของเงินค าใส่
                                                                         ๓๘๒
                                  ๓๘๑
               ช้างแล้ว พระยาจีงขวี่ ช้างมังคละ เสนาขวี่ม้าพารี พนประริวาน  มาสู่
               หนองหานหลวงเพื่อว่าจักพ้อมกันสู่ภูก าพ้าหั้นแล ชาวเมืองหนองหานหลวงตื่น
                   ๓๘๓
               ค้อง  ไวใจเสือ (เศิก) มาพระยาสุวัณณภิงคละจีงใช้คนผู้สลาดเว้าไปยามดู
                                          ๓๘๔
               เห็นพระยาค้าแดงผู้เป็นลูกน้อง  แห่งพระยาหั้นแลเคื่องบุรเคื่องทานอามาส
               จีงคืนมาคอบ (ทูล) พระยาสุวัณณภิงคละฮู้ว่าน้องตนมามีใจชมชื่นยินดีซ้ าให้
               อามาสไปราทนามาไหว้ทั้งไปพ้อมอรหันตเจ้าเข้าสู่ภูก า ๒/๑๔/๒ (ทร) พ้าหั้นแล
                                                         ๓๘๕
                       ยามนั้นพระยาค าแดงก็มาฮอดปฏิสรัฏฐาน  ต้านจารจากับดอมพระ
               ยาสุวัณณภิงคละแล้ว  ก็เอากันพ้อมกับอรหันตาเจ้าไปฮอดภูก าพ้าหั้นแล
                                       ๓๘๖
                       พระยาพี่น้องทั้ง ๓  ฮู้ข่าวว่ามาฮอดแล้วจีงพ้อมกันขว่ามน้ าไปตั้ง
               เพียงปากเซหั้น  พระยาสุวัณณภิงคละ พระยาค าแดงจีงเห็นเคื่องอาวุดสม-
                                                            ๓๘๘
                   ๓๘๗
               คาม  แห่งพระยาทั้งหลาย ทั้ง ๓ ลวดเกิดค้าสงกา   เหดว่าพระยาทั้ง ๒
               พี่น้องบ่ได้เอาเคื่องสมคามมา

               ๓๘๐
                   ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  กล่าวว่า  “บัวหลวง-บัวกุ่มน้อย”, นิทานอุรังคธาตุ
               ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (๒๕๔๓)  กล่าวว่า  “ภูหลวง-ภูน้อย”
               ๓๘๑
                   ขี่-ผู้ปริวรรต
               ๓๘๒
                   รี้พลบริวาร-ผู้ปริวรรต
               ๓๘๓
                   ฆ้อง-ผู้ปริวรรต
               ๓๘๔
                    ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  “กล่าวว่า อนุชาฝ่ายมารดา”, ฉบับของกรมส่งเสริม
               วัฒนธรรม (๒๕๔๓)  กล่าวว่า “ลูกน้องแม่ของตน”
               ๓๘๕
                   ปฏิสันถาร-ผู้ปริวรรต
               ๓๘๖
                   พระยาอินทปัตถนคร  พระยาจุลลณีพรหมทัต และ พระยานันทเสน
               ๓๘๗
                   อาวุธสงคราม-ผู้ปริวรรต
               ๓๘๘
                   ความสงสัย-ผู้ปริวรรต
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99