Page 18 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 18
ั
3. การขาดความรวมมือของหนวยงานภาครัฐในการรวมกันแกไขกฎหมาย กฎระเบียบ พรอมท้งขาด
การสรางความเขาใจในขอกฎหมายเชิงบูรณาการ
ั
ึ
ี
4. บุคลากรภาครัฐ ยังคงปฏิบัติงานในรูปแบบเดิม ซ่งไมสอดรับกับการเปล่ยนแปลงท้งดานการบริหารงาน
และการใหบริการดิจิทัล
แนวทางแกไข
ี
1. หนวยงานภาครัฐจำเปนตองตระหนักถึงความสำคัญของเทคโนโลยี และศึกษาทำความเขาใจเก่ยวกับกฎหมาย
ี
่
ั
ุ
กฎระเบยบของตนเองทเปนอปสรรคตอการพฒนางานดานการบรหารและการใหบรการตามหลกของรฐบาล
ิ
ั
ั
ี
ิ
ดิจิทัล
ี
ี
2. หนวยงานภาครัฐศึกษาทำความเขาใจกฎหมายระดับชาติท่เก่ยวของกับดิจิทัล เชน พระราชบัญญัติการ
บริหารงานและการใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ.2562 พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทาง
อิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2565 เปนตน
3. คนหาชองโหวของการดำเนินงานดานกฎหมายในปจจุบันของหนวยงานตนเอง โดยอางอิงการทำงานให
สอดรับกับกฎหมายและกฎระเบียบระดับชาติ
4. หนวยงานภาครัฐดำเนินการปรับปรุง ปรับเปล่ยน กฎระเบียบของหนวยงานใหสอดคลองกับกฎหมาย
ี
ระดับชาติ
5. หนวยงานภาครัฐมุงสรางความรวมมือกับหนวยงานภาคีในการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่ใชรวมกัน
ใหเปนปจจุบันและสอดรับบริบทดิจิทัล เพื่อสรางการทำงานเชิงบูรณาการขามหนวยงาน
6. สรางความตระหนักรูใหกับบุคลากรในหนวยงาน ในการทำงานภายใตสภาพแวดลอมของกฎหมาย กฎ
ระเบียบที่เปลี่ยนแปลง
7. หนวยงานกลางดำเนินการศึกษาและปรับเปลี่ยนกฎหมายที่เกี่ยวของกับรัฐบาลดิจิทัลใหเปนปจจุบัน
ดังนั้น การปรับปรุงแกไขกฎหมายจึงเปนอีกสวนสำคัญในการขับเคลื่อนการเปนรัฐบาลดิจิทัล โดยทุกหนวย
งานภาครัฐมีความจำเปนตองเรงทบทวน ปรับปรุงกระบวนการ กฎระเบียบ รวมถึงการแกไขกฎหมายที่เปนอุปสรรค
ตอการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หรืออาจจำเปนตองบัญญัติกฎหมายใหมเพื่อชวยอำนวยความสะดวกในการพัฒนารัฐบาล
ดิจิทัล ควบคูไปกับการพัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ภาครัฐใหสามารถตีความและใชกฎหมายไดอยางถูกตอง เพ่อให
ื
ี
การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเปนไปไดอยางตอเนื่องและคงไวซึ่งการใหบริการที่มีประสิทธิภาพ
หนวยงานผูรับผิดชอบ
▪ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
▪ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
▪ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
17