Page 166 - ebook.msu.ac.th
P. 166

166             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์



                                                                             ๖๙๖
               ก็จีงว่าเป็นกระกูรลละพ่อนาแท้ คันว่าพรามหลิงเห็นดังนี้แล้ว  ก็จีง หดสง
               (โสรจสรง) ซึ่งถามหามังคละ  เพื่อจักราชาพิเสกเจ้าบุรีจัน

                       “...เมื่อนั้นพราหมณ์ทั้งหลาย จึงตกลงกันถวายโสลกโคลงไว้คนละบท

               มังคละพราหมณ์ ผู้แก่กว่าพราหมณ์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า “บุญมี อรหันตาเจ้า
               จึงใส่ชื่อว่า อัญชลี เจ้าพร่ าเพ็งบารมีถ้วนแล้ว บุรีจันอ้วยล่วยแล่ จันทนากาแล
               เทวดาผายโผดลุลาภได้นางอินทสว่าง เสวยราชควนแล้ว”

                       จุลพราหมณ์จึงกล่าวโสลกโคลงไว้เป็นปฏิโลมว่า “บุรีจันเจ้า ตนเพียร
               กระท าน าให้เป็นเหตุ อ้วยล่วย เพราะว่าให้เสียเพทร้าย วิบากเก่าปูมหลวง อันบ่
               ใช่โยโส สมภารท่านเรือง เกิดบุระบุพชาติเชื้อแม่นนักปราชญ์โพธิญาณแท้แล”
                       ต่อจากนั้นพราหมณ์ทั้ง ๕ จีงพากันดูลักขณะกัลยาของนางอินทสว่าง

               ลงรอด ก็เห็นว่า นางนี้ถืกต้องลักขณะ เป็นเมียบุราณทุติยะแล บุรีจันเจ้าจึงได้
               เป็นผัว ไชยพราหมณ์จึงกล่าวโสลกโคลงว่า นางนารีปัญจกัลยานีมีพร่ าพร้อมทั้ง
               ๔ องค์ สักกะปาณีทรงธรรมทอดไว้ทนะเทวีแต่งในแบบน า ให้บุรีจันเป็นใหญ่
               ให้นางอินทสว่างกระสันหายโพยภัยอันโศกจริงแล

                       สิทธิพราหมณ์จึงกล่าวปฏิโลมว่า สว่างสวัสดี นิทะเน่งนอนทรงโศก จัก
               แถลงกาลโยค ให้บุรีจันเป็นใหญ่ อินทากล่าวแจ้ง แสลงเพทเหตุแห่งแหวนค า
               เคือง นางบุรีจันสุระมากล้นเหลือหลายภายหน้าหากจักมี
                       ต่อจากนั้น จิตวัฒนพราหมณ์ จึงจดชื่อบุรีจันอ้วยล่วย และชื่อนาง

               อินทสว่าง มาผสมเข้ากันเป็น ๘ บท ได้ ๒ โสลก อธิบายดังนี้ บุ, รี, อินท, สว่าง
               เป็น ๔ บท และ บุ, รี, อ้วย, ล่วย เป็น ๔ บท บุรีประกอบแก่นางลุลาภได้
               ทัวระกาน พ้นโลกลือชาสร้างสมภารมีบ่ห่อนเปล่า อินทสว่างให้บ่ได้แค้นคั่ง

               เคืองจิตแล อ้วยล่วยให้คันทรัสสะฝูงชายดายเปล่า ทรงทดทอดเนื้อบอระบวน
               สมสายอ้ายอ้วยล่วยเลยลวดได้ลือชาทั่วเมือง สวาทสองเบื้องยอเมืองมอบให้สู
               จริงแล
                       เมื่อนั้นพราหมณ์ทั้ง ๕ จึงพิจารณาเถิงพระยาสุมิตตธรรมวงสาเจ้ากับ
               บุรีจัน เทียบเทียมกันดูจึงกล่าวโสลกว่าเอาแต่ สุ, มิต, ตะ, ธรรม, ๔ ตัว



               ๖๙๖
                   ในใบลานฉบับนี้ จาร “หด” ทั้งฉบับ ไม่พบว่าจารเป็น “ฮด” แต่อย่างใด
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171