Page 194 - ebook.msu.ac.th
P. 194

194             ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์



                                                                            ๗๘๒
                       เมื่อพระเจ้ายังทัวระมานได้มาสรัฏฐิดที่ปากถ ้าวัชชิระรูปปรากาน
                                   ๗๘๓
               หว่างภู ๒ อัน ถัด ระโว้  หั้น
                       อรหันตาเจ้าทั้ง ๘ พ้อมกันไปแผ่นกะดานระหินเป็นพื้นบ้านพื้นเมือง
               แลอุปปเทดนิทานทั้งมวร  ไว้อันจักฮักสาพุทธ ๕/๑๐/๑ สาสนาแล

               พื้นธาตุพระพุทธเจ้า  อันจักได้อยายไว้ในชุมพูทีปแลพื้นฮอยปาทลักขนากับทั้ง
                                                    ๗๘๔
               สาสนนัคคะละนิทานสัพพัญญูเจ้าซู่อัน  ก็สัก  ไว้หั้นทั้งมวรแล
                              พ่อคูทั้ง ๓ นั้นจีงสั่งลูก (ศิษย์) ทั้ง ๕ ให้เอาธาตุอันเอามานั้น

                       ว่า
                              ให้ไว้ธาตุหัวเหน่า  ที่ภูเขาลวงหั้นเทิน
                              ธาตุฝ่าตีนขวา  ไว้เมืองหล้าหนองทั งหลายหั้นเทิน
                              ธาตุแข้วฝาง  ไว้เวียงงัว ๓ ลูก, ไว้ท่าหอแพ ๔ ลูก

                       อรหันตาเจ้าทั้ง ๓ สั่งหนี (นี้) แล้ว  ก็คืนหนีเมือสู่เมืองราชคึหะดังครั้ง
               เก่าแล
                       ยามนั้นอรหันตาเจ้าทั้ง ๕ จีงเอาธาตุพระเจ้า  มาตั้งอยู่ใน
               ฮ่มไม้ปาแป้งที่ภูเขาลวงหั้น พระยาจันทบุรีแลหมื่นกลางโฮง  เมื่อว่าอรหันตา-

               เจ้า เอาธาตุสัพพัญญูมาก็ชื่นชมยินดี  จีงให้เมือเอานางอินสว่างระตะนะเกสี-
                                                                       ๗๘๖
                                          ๗๘๕
               ราชเทวีมา นางก็แจ้งใน กาน  บุรีจันเอาค าหล่อเป็น ฮูปสิง  (สี่) ตัว
               หนักสี่หมื่น เอาก้นสิงมาจุกัน  เอาค า ๒  ๕/๑๐/๒ (โล) หมื่น  มาหล่อเป็นฮูป
                                                          ๗๘๗
               อูปมุงประดับด้วยแก้ว นางจีงเอาล่องมายังสานจอด  หั้น



               ๗๘๒
                   ฉบับของหอสมุดแห่งชาติและฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ว่า ถ ้าแก้ววชิรปราการ
               ๗๘๓
                   หมายถึง ละโว้-ผู้ปริวรรต
               ๗๘๔
                     หมายถึง สลัก, จารึก :   สังเกตว่า แม้เขียน ส ก็จริง แต่เสียงกลับเป็น สฺล เช่น
               โสก เป็น โสลก,  สอง เป็น สลอง, สัก เป็น สลัก เป็นต้น -ผู้ปริวรรต
               ๗๘๕
                   การ, งาน-ผู้ปริวรรต
               ๗๘๖
                   รูปสิงห์-ผู้ปริวรรต
               ๗๘๗
                   ศาลาจอด-ผู้ปริวรรต
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199