Page 172 - Microsoft Word - ปก.doc
P. 172

บทท่ี 6 แอลกอฮอล อีเทอร ฟน อล และ อนุพนั ธุ 164

   OH                OH            OH                    OH
          CH3
                     CH3                   OH            OH
o-cresol
               p-cresol       resorcinol       hydroquinone

OH OH                                               OH

                                               O2N      NO2

α-naphthol     β-naphthol                                      NO2
(1-naphthol)    (2-naphthol)
                                               2,4,6-trinitrophenol

                                                    (picric acid)

      6.8.2 คณุ สมบตั ิทางกายภาพ การทฟ่ี นอลมหี มูไ ฮดรอกซิล (-OH) เหมอื นกบั ใน
แอลกอฮอล จึงทําใหฟ น อลมคี ุณสมบัติทีค่ ลายกับแอลกอฮอล กลา วคือ สามารถเกดิ พนั ธะ
ไฮโดรเจนระหวา งโมเลกลุ ทแี่ ขง็ แรง (strong intermolecular hydrogen bond)ได ดงั นนั้ ฟน อลจงึ
มักเกิดการจับตัวกนั ทาํ ใหฟน อลมจี ดุ เดือดสูงกวา สารประกอบไฮโดรคารบ อนโดยท่ัวๆไป ทีม่ มี วล
โมเลกลุ ใกลเ คยี งกนั

      พันธะไฮโดรเจนระหวางฟน อลและน้ํา จะแข็งแรงกวาพนั ธะไฮโดรเจนระหวา งแอลกอฮอล
และน้ํา หมฟู นลิ มีความสามารถในการละลายน้ําเทา กับจาํ นวนคารบอน 3-4 อะตอม หรอื

เทา กบั หมูเ มทลิ ีน (methylene group) จาํ นวน 3 1 หมู ดงั นนั้ ฟน อลจึงมคี วามสามารถในการ

                                                      2

ละลายในนา้ํ อยูก ํ่ากงึ่ ระหวา ง iso-propanol และ iso-butanol

      6.8.3 คณุ สมบตั ิทางเคมี ฟน อลเปน กรดแกก วา นํ้าและแอลกอฮอล แตอ อนกวา กรดคาร
บอกซลิ กิ ทัง้ นี้ เพราะโครงสรางของฟนอลสามารถเกิดเรโซแนนซได จงึ ทาํ ใหเกิดการกระจายของ
ประจุบนออกซเิ จน และทําใหอ อกซเิ จนมปี ระจุเปนบวกมากขึ้น ซงึ่ งา ยตอ การปลดปลอยโปรตอน
ดังสมการ

HH                            HH
OO                            OO
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177